ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์หอยขม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธพร ส่องศรี (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| image_width = 100px
| image2 =
| fossil_range = [[Aptian|แอฟเทียน]]-ปัจจุบัน<ref>Kear B. P., Hamilton-Bruce R. J., Smith B. J. & Gowlett-Holmes K. L. (2003). "Reassessment of Australia's oldest freshwater snail, ''Viviparus'' (?) albascopularis Etheridge, 1902 (Mollusca : Gastropoda : Viviparidae), from the Lower Cretaceous (Aptian, Wallumbilla Formation) of White Cliffs, New South Wales". Molluscan Research 23(2): 149-158. doi:10.1071/MR03003, PDF.</ref>
| image2_caption =
| regnum = [[Animal]]ia
เส้น 9 ⟶ 10:
| unranked_familia =
| superfamilia =
| familia = '''[[Viviparidae]]'''
| familia_authority = [[John Edward Gray|J. E. Gray]], [[ค.ศ. 1847|1847]]<ref>Gray J. E. (November 1847) (1833). "A list of genera of Recent Mollusca, their synonyma and types". ''Proceedings of the Zoological Society in London'', 15: 129-182. Viviparidae at page 155.</ref>
| genus = ''[[Filopaludina]]''
| subfamilia = *[[Bellamyinae]]
| subgenus =
*[[Lioplacinae]]
| species =
*[[Viviparinae]]
| binomial = ''Filopaludina martensi''
| subdivision = <center>พบราว 125-150 [[สปีชีส์|ชนิด]]</center>
| binomial_authority =
| subdivision_ranks = [[สปีชีส์|ชนิด]]<ref>Strong E. E., Gargominy O., Ponder W. F. & Bouchet P. (2008). "Global Diversity of Gastropods (Gastropoda; Mollusca) in Freshwater". ''Hydrobiologia'' 595: 149-166. http://hdl.handle.net/10088/7390 doi:10.1007/s10750-007-9012-6. </ref>
}}
 
'''หอยขม''' หรือภาษาในบางท้องถิ่นเรีอกว่า '''หอยจุ๊บ''' หรือ'''หอยดูด''' เป็นที่รู้จักกันดีและมีขายในตลาดทั่วไป เป็น[[หอยฝาเดียว]]ที่พบเฉพาะในแหล่ง[[น้ำจืด]]เท่านั้น นิยมนำมาทำอาหาร เช่น แกงคั่วหอยขม แกงอ่อมหอยขม และอื่น ๆ อีกมากมาย โดยส่วนมากจะพบจากแหล่งธรรมชาติ โดยชาวบ้านในท้องที่เก็บมาขาย หรือพบบริเวณบ่อเลี้ยงปลา ซึ่งเป็นผลพลอยได้สำหรับเจ้าของบ่อเลี้ยงปลา แต่ในปัจจุบันมีการทำฟาร์มเพื่อการเพาะเลี้ยงหอยขมในกระชังโดยเฉพาะ [[มอลลัสคา|หอย]]ขมเป็น[[สัตว์]]ที่มีความอดทนต่อสภาพแวดล้อม เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว และขยายพันธุ์เร็ว
 
== ชีววิทยาของหอยขม ==
หอยขม มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Pond snail, Marsh snail, River snail มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Filopaludina'' อยู่ในไฟลัม Mollusca กลุ่มหอยฝาเดียว วงศ์ Viviparidae ใน[[ประเทศไทย]]พบว่ามีความหลากหลายของหอยในวงศ์หอยขมมากพอสมควร เช่น ชนิด ''[[Filopaludina martensi]]''
 
=== ลักษณะภายนอก ===
เส้น 43 ⟶ 45:
 
หอยขมมีอวัยวะเพศทั้งเพศผู้และเพศเมียอยู่ในตัวเดียวกัน สามารถผสมตัวเองหรือผสมข้ามโดยการมาประกบกันได้ และการผสมพันธุ์ได้ด้วยตัวของมันเองจะทำได้เมื่ออายุได้ 60 วัน หอยขมออกลูกเป็นตัวครั้งละ
ประมาณ 40-50 ตัว ลูกหอยขมที่ออกมาใหม่ ๆ จะมีวุ้นหุ้มอยู่ แม่หอยขมจะใช้หนวดแทงวุ้นจนแตกเพื่อให้ลูกหอยหลุดออกจากวุ้น ลูกหอยขมสามารถเคลื่อนไหวได้ทันทีเมื่อออกจากตัวแม่ ระยะที่จะพบเห็นชุกชุมอยู่ในช่วงเดือนธันวาคม-พฤษภาคม มีอายุขัยตั้งแต่ 3-11 ปี<ref>Heller J. (1990) "Longevity in molluscs". ''Malacologia'' 31(2): 259-295.</ref>
 
== แหล่งอาศัย ==
 
หอยขมมักอาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำจืดธรรมชาติทั่วไป เช่น คู หนอง คลอง บึง และในนาข้าว ที่เป็นพื้นดินหรือโคลน ที่ระดับน้ำตั้งแต่ 10 ซม. ถึง 2 ม. โดยใช้เท้ายึดเกาะอยู่ตามวัตถุต่าง ๆ เช่น เสา สะพาน ตอไม้ พันธุ์ไม้น้ำ หรือจมอยู่ในโคลน หอยขมมักอยู่ในน้ำที่ไม่ไหลแรงนักหรือเป็นน้ำนิ่งในที่ร่ม มีการแพร่กระจายไปทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย สามารถพบได้ทั่วไปในทุกจังหวัด และมีการแพร่กระจายทั่วไปในประเทศใกล้เคียง เช่น พม่า ลาว เวียดนาม และกัมพูชา รวมถึงในจีน และแอฟริกา
 
== พยาธิจากหอยขม ==
เส้น 53 ⟶ 55:
ในธรรมชาติหอยเป็นสัตว์ที่เป็นพาหะในการนำพยาธิมาสู่ผู้บริโถคในห่วงโซ่อาหาร เนื่องจากวงจรชีวิตของพยาธิในระยะตัวอ่อนจะเข้ามาฝังตัวในหอย โดยเฉพาะในหอยน้ำจืด สำหรับในหอยขมมีชนิดพยาธิที่ตรวจพบดังต่อไปนี้
- ''Echinostoma malayanum''
 
- ''Echinostoma revolutum''
- ''Echinostoma malayanum''
- ''Echinostoma ilocanum''
 
*- ''Angiostrongylus cantonensis''<ref>ศักดิ์ชัย ชูโชติ. 2533. '''การเลี้ยงหอยขม'''. โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, กรุงเทพมหานคร</ref>
- Angiostrongylus cantonensis
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
*ศักดิ์ชัย ชูโชติ. 2533. '''การเลี้ยงหอยขม'''. โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, กรุงเทพมหานคร
{{commonscat|Viviparidae}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{wikispecies|Viviparidae}}
 
[[หมวดหมู่:หอยฝาเดี่ยว]]
[[be:Жывародкі]]
[[de:Sumpfdeckelschnecken]]
[[fr:Viviparidae]]
[[en:Viviparidae]]
[[ko:우렁이]]
[[nl:Viviparidae]]
[[ja:タニシ]]
[[no:Elvegjellesnegler]]
[[pl:Żyworodkowate]]
[[ru:Живородки]]
[[sk:Močiarkovité]]
[[sv:Sumpsnäckor]]
[[zh:田螺]]