ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหมา เจ๋อตง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chen Zhaofu (คุย | ส่วนร่วม)
→‎การปฎิวัติ: +แทนที่ "ใต้หวัน" → "ไต้หวัน" ด้วยสจห.
Chen Zhaofu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 31:
==เหมา กับ เจียง==
[[File:Mao, Hurley and Chiang.jpg|thump|200px|left|ขวา:เจียง ,กลาง:เฮอรี่ย์ ,ซ้าย:เหมา]]
เหมา เจ๋อตง กับ [[เจียงไคเช็ก]]เป็นเพื่อนกัน แต่เนื่องจาก เจียงไคเช็กเป็นมือขวาสำคัญของ [[ซุน ยัด เซนยัตเซน]] และมีความใกล้ชิดกับ ซุน มาก ซึ่งซุนเองก็มีแนวคิดเป็น [[ประชาธิปไตย]] เจียงจึงมีแนวคิดคล้ายๆกับ ซุน นั่นคือ ประเทศจีน ต้องปกครองในระบอบประชาธิปไตย แต่ เหมาต้องการให้จีนปกครองแบบคอมมิวนิสต์ จึงเหตุให้ทั้งคู่ไม่ถูกกันและเป็นศัตรูกันจนถึงวันเสียของทั้งคู่
==การปฎิวัติ==
เหมา มี ประชาชนสนับสนุนเขามากโดยเฉพาะ ชาวนา ชาวไร่ และ คนจน จึงได้จัดเป็นกองกำลังขึ้น โดยมี[[โซเวียต]] สนับสนุนอยู่ เพื่อปฎิวัติจีนให้เป็นคอมมิวนิสต์ แต่เจียงไคเช็กซึ่งกองทัพอยู่ในมือ จึงสามารถเล่นงาน เหมา ได้ง่าย แต่ปัญหาหลักคือ กองทัพญี่ปุ่น ที่รุกคืบมายึดจีน โดยเฉพาะใน[[ยุทธการนานกิง]]มีชาวจีนล้มตายเป็นจำนวนมาก แต่เจียงไคเช็ก เห็นว่า คอมมิวนิสต์มีอันตรายกว่านั้นจึงส่งทัพหวังโจมตี กองทัพของเหมา ต่อมาในปี 1937-1945 กองทัพเหมาสามารถ ต่อต้านกองทัพญี่ปุ่น ด้วย ยุทธวิธี “สงครามยืดเยื้อ” จนได้ชัย(ซึ่งในยุคนั้นอยู่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 พอดี จึงทำให้ญี่ปุ่นต้องล่าถอย ไปช่วยกองทัพต่อกรกับ อเมริกาที่จะรุกคืบเข้า ญี่ปุ่น)
ในปี 1943 เหมาได้เป็นประธานคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์
ปี 1946 เจียงส่งทัพมาโจมตี กองทัพเหมา แต่เหมาก็สามารถนำประชาชน ชนะทหารของเจียงได้ ถึง 3 ครั้งใหญ่ๆ และนำทัพประชาชน เข้า คุมอำนาจรัฐบาล เจียง จึงจำเป็นต้องลี้ภัยพร้อมกับคนเก่งๆในรัฐบาลหลายๆคนไป เกาะแห่งหนึ่งทางตอนใต้ของ จีน ที่เรียกว่า "ไต้หวัน" เจียงจึงถือเป็นผู้ก่อตั้ง ไต้หวัน ทำให้ การปกครองระหว่างคอมมิวนิสต์ กับประชาธิปไตย แบ่งเป็น 2 ฝั่ง นั่นคือ [[จีนแผ่นดินใหญ่]] กับ [[ไต้หวัน]]
 
==ผู้นำสูงสุดของจีน==