ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขนาดความกว้างรางรถไฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: tl:Luwang ng daangbakal
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
[[Fileไฟล์:Gauge EN.svg|thumb|ระยะในการวัดขนาดความกว้างรางรถไฟ]]
[[Fileไฟล์:Rail gauge.svg|thumb|ขนาดเกจต่างๆ]]
 
'''ขนาดความกว้างรางรถไฟ''' ({{lang-en|rail gauge หรือ track gauge}}) คือระยะห่างของ[[รางรถไฟ]] โดยวัดจากหัวรางด้านในข้างซ้ายถึงหัวรางด้านในข้างขวา [[สแตนดาร์ดเกจ]] (standard gauge) เป็นชื่อของขนาดความกว้างรางที่นิยมใช้มากที่สุดทั่วโลก โดยประมาณ 60% ของรางรถไฟทั้งหมด โดยมีขนาด 1,435 มม. (4 ฟุต {{เศษ|8 |1/|2}} นิ้ว) โดยในเมืองไทยรางรถไฟส่วนใหญ่มีขนาดความกว้างที่เรียกว่า [[มีเตอร์เกจ]] ที่มีขนาดความกว้าง 1,000 มม. ซึ่งมีแผนการจะพัฒนาปรับปรุงเพื่อใช้สำหรับ[[รถไฟความเร็วสูง]]<ref>ไทยรัฐ, [http://www.thairath.co.th/page/trainPage เมื่อประเทศไทยจะมีรถไฟความเร็วสูงใช้]</ref>
 
== ประเภทของรางรถไฟ ==
[[ไฟล์:ShinkansenTrack.jpg|thumb|รางรถไฟ[[ชินคันเซ็น]] เป็นรางที่มีความกว้างมาตรฐาน (standard gauge)]]
=== รางแคบ (Narrow gauge) ===
รางแคบ (Narrow gauge) เป็นรางรถไฟที่มีความกว้างของรางน้อยกว่า 1.435 เมตร ได้แก่
* สก๊อตต์ เกจ (Scotch gauge) ขนาดความกว้างราง 1.372 เมตร (4 ฟุต 6 นิ้ว )
* เคป เกจ (Cape gauge) ขนาดความกว้างราง 1.067 เมตร (3 ฟุต 6 นิ้ว)
* มิเตอร์ เกจ (Metre gauge) ขนาดความกว้างราง 1.000 เมตร (3 ฟุต {{เศษ|3 3⁄|3|8}} นิ้ว)
{{โครง-ส่วน}}
 
=== รางมาตรฐาน (Standard gauge) ===
เป็นรางขนาด 1.435 เมตร หรือ 1,435 มม. (4 ฟุต {{เศษ|8 |1/|2}} นิ้ว) มีจำนวนประเทศที่ใช้มากที่สุด เรียกมาตรฐานรางกว้างขนาดนี้ว่า Standard Gauge บางครั้งเรียกว่า European Standard Gauge (ESG.) เป็นรางรถไฟที่กำหนดเป็นมาตรฐานของกลุ่มในประเทศยุโรป มีการใช้รางขนาดนี้คิดเป็นหกสิบเปอร์เซ็นต์ของรถไฟโลก<ref>http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=2 ขนาดความกว้างของรางรถไฟ</ref>
 
[[Imageไฟล์:1906 earthquake train.jpg|thumb|right|250px250px]]
 
=== รางกว้าง (Broad gauge) ===
 
รางกว้าง (Broad gauge) เป็นรางที่มีขนาดความกว้างมากกว่า 1.435 เมตรขึ้นไป
{{โครง-ส่วน}}
* อินเดียน เกจ (Indian gauge) 1.676 เมตร (5 ฟุต 6 นิ้ว)
* ไอเบอเรี่ยน เกจ (Iberian gauge) 1.668 เมตร (5 ฟุต {{เศษ|5 2⁄|2|3}} นิ้ว)
* ไอริส เกจ (Irish gauge) 1.600 เมตร (5 ฟุต 3 นิ้ว)
* รัสเซีย เกจ (Russian gauge) 1.520 เมตร (4 ฟุต {{เศษ|11 5⁄|5|6}} นิ้ว)
 
 
{|class="wikitable sortable"
! ความกว้าง (เมตร)
! ชื่อเรียกขนาด
! ระยะทางที่มีการก่อสร้าง (กิโลเมตร)
เส้น 37 ⟶ 36:
| [[Indian gauge]]
| align=right |77,000
| อินเดีย (42,000&nbsp;กิโลเตร; (เพิ่มขึ้นจากโครงการปรับเปลี่ยนราง), ปากีสถาน, ทางรถไฟในประเทศอาร์เจนตินา (24,000&nbsp;กิโลเมตร), ชิลี <br />'' (ประมาณ 6 {{Fractionเศษ|6|1|2}}% ของทางรถไฟในโลก) ''
|-
| 1.668
| [[Iberian gauge]]
| align=right |15,394
| โปตุเกสโปรตุเกส, ทางรถไฟในสเปน (ในสเปน 21&nbsp;กิโลเมตร ซึ่งเป็นรางที่ใช้ร่วมกัน 3 ราง ในรางคู่ โดยใช้ Iberian กับ standard gaugesซึ่งที่เหลือเป็นแผนที่จะทำในอนาคต
|-
| 1.600
เส้น 57 ⟶ 56:
| [[Russian gauge]]
| align=right |220,000
| รัฐ CIS (รวมทั้งรางรถไฟในประเทศรัสเซีย), เอสโตเนีย, ลัตเวีย, ลิธัวเนีย, มองโกเลีย <br />'' (ประมาณ 17% ของรางรถไฟในโลก) ''
|-
| 1.435
| {{nowrap|[[Standard gauge]]}}
| align=right |720,000
| รางรถไฟในกลุ่มประเทศยุโรป, รางในประเทศอาร์เจนตินา, รางรถไฟในประเทศสหรัฐอเมริกา, รางรถไฟในประเทศแคนนาดา, รางในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน , เกาหลี, ออสเตเลีย, ใจกลางของแอฟฟิกาตะวันออก, แอฟฟิกาเหนือ , แมกซิโก, คิวบา, ปานามา, เวเนซูเอล่า, เปรู, อุรุกวัย และฟิลิปปินส์ เส้นทางรถไฟความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่น และสเปน<br />'' (ประมาณ 60% ของรางรถไฟในโลก) ''
|-
| 1.067
| [[Cape gauge]]
| align=right |112,000
| แอฟฟิกาใต้และแอฟฟิกากลาง, อินโดนีเซีย, ญี่ปุ่น, สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน), ฟิลิปปินส์, นิวซีแลนด์, รัฐควีนแลนด์ ออสเตเลีย <br />'' (ประมาณ 9% ของทางรถไฟในโลก) ''
|-
| 1.000
| [[Metre gauge]]
| align=right |95,000
| เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อินเดีย (17,000&nbsp;กิโลเมตร, ซึ่งปัจจุบันมีระยะทางลดลงจากโครงการปรับเปลี่ยนขนาดราง), ทางรถไฟในประเทศอาร์เจนตินา (11,000&nbsp;กิโลเมตร), ทางรถไฟในประเทศบาร์ซิล (23,489&nbsp;กิโลเมตร), โบลิเวีย, ทางเหนือของประเทศชิลี, เคย่า, ยูกานด้า<br />'' (โดยประมาณ 7% ของทางรถไฟในโลก) ''
|}
 
== รางรถไฟรางร่วม ==
[[Imageไฟล์:CombinedTrack.jpg|right|thumb|440px|แบบการวางรางรถไฟรางร่วมในต่างประเทศ]]
 
[[รางรถไฟรางผสม]] (mixed-gauge) หรือ รางรถไฟรางร่วม (dual-gauge) เป็นการทำรางรถไฟให้รถไฟที่ต้องการความกว้างของราง 2 ระบบให้สามารถใช้แนวเส้นทางเดิมได้ โดยวางรางเสริมเข้ากับรางระบบเดิม จึงได้ราง 2 ระบบในแนววางรางเดิม ปัจจุบันในประเทศไทยยังไม่มีระบบรางรถไฟรางร่วม
 
== สถิติของรางรถไฟ ==
* รางกว้างที่กว้างสุดคือ '''2.140 เมตร''' ซึ่งเรียกว่า '''Groad gauge'''
* รางกว้างที่แคบสุดคือ '''รางเดี่ยว''' ('''Monorail''' หรือที่เรียกว่า '''Gauge-O''') <ref>http://onknow.blogspot.com/2008/04/blog-post_9091.html เรื่องความกว้าง ของรางรถไฟ</ref>
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Rail gauge world.png|thumb|450px|right|ขนาดรางรถไฟหลักแบ่งตามประเทศ โดย[[สแตนดาร์ดเกจ]]แสดงในสีฟ้า และ[[มีเตอร์เกจ]]แสดงในสีชมพู]]
 
อดีตการเลือกขนาดรางรถไฟในการก่อสร้างนั้น เป็นส่วนหนึ่งโดยพลการและเงื่อนไขบางอย่างเพื่อตอบสนองท้องถิ่น เช่น รถไฟแคบวัด - มีราคาถูกกว่าการสร้างและสามารถเข้าพื้นที่แคบๆ ข้างหน้าผาได้ดี แต่รางรถไฟรางกว้างให้มีเสถียรภาพมากขึ้นและสามารถใช้ความเร็วสูงได้มากขึ้น
 
ในบางประเทศ การเลือกใช้รางเป็นประเด็นทางการเมือง การปกครอง เช่น ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการใช้รางรถไฟรางแคบ ขนาด 1 เมตร ในดินแดนภายใต้อนานิคม ของประเทศอังกฤษ และฝรังเศษ เมื่อประเทศสยาม (ไทย) ได้สร้างรถไฟหลวงสายแรกเพื่อไปเชียงใหม่ โดยใช้ขนาด 1.435 เมตร มีบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์อีกด้วยว่าในระหว่างความขัดแย้งทางการค้าไทยกับฝรั่งเศส ได้มีการทำสนธิสัญญาไว้ข้อหนึ่ง ซึ่งห้ามประเทศไทยสร้างทางรถไฟไปชิดชายฝั่งแม่น้ำโขง ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือจึงสร้างไปหยุดที่ อำเภอวารินชำราบในจังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอุดรธานี<ref>http://www.oknation.net/blog/BlueDragonExp/2007/04/21/entry-1 ขนาดความกว้างของรางรถไฟ (Railway Gauge) </ref> สำหรับทางรถไฟสายใต้นั้นก่อสร้างด้วยเงินกู้จากประเทศอังกฤษ ซึ่งประเทศไทยจำยอมต้องสร้างด้วยขนาด 1.00 เมตร ด้วยเหตุผลที่อังกฤษตั้องการใช้เป็นเส้นทางเชื่อมทางระหว่างมลายูกับพม่า ซึ่งเป็นรางขนาด 1.00 เมตร และมีค่าก่อสร้างถูกกว่าด้วย
 
== รางรถไฟในประเทศไทย ==
เส้น 103 ⟶ 102:
* [[รถไฟฟ้า บีทีเอส]]
 
; รางรถไฟรางแคบขนาด 0.700 เมตร
* [[ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ]] (เป็นรถไฟชั้นเจ้านาย ปัจจุบันเป็นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3177 เพชรบุรี-หาดเจ้าสำราญ)
 
== ดูเพิ่ม ==