ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีข้อมูล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต เพิ่ม: el:Θεωρία Πληροφορίας
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
: ''สำหรับ{{ความหมายอื่น ดูที่ [[|||ทฤษฎีสารสนเทศ]]''}}
'''ทฤษฏีข้อมูล''' ({{lang-en|Data Theory}}) เป็นทฤษฏีที่ว่าด้วย[[การแทนเชิงนามธรรม]]ของแง่มุมต่าง ๆ ของข้อมูล ซึ่งใช้แบ่งแยกสถานะการณ์ต่าง ๆ ของข้อมูลที่เป็นไปได้ออกด้วยแนวคิดจำนวนน้อย
 
แง่มุมหลัก ๆ สองแง่มุมของทฤษฎีข้อมูลคือ
บรรทัด 33:
อย่างไรก็ตามในทางการศึกษาด้านพฤติกรรม การสำรวจมักไม่เป็นไปอย่างไม่อิสระ และกลุ่มประชากรก็ไม่เอกพันธุ์คือ มีความหลากหลาย ซึ่งบ่อยครั้งไม่สามารถระบุได้ ซึ่งในสถานะการณ์แบบนี้จำเป็นต้องใช้วิธีการเชิงทฤษฏีข้อมูลในการพัฒนาวิธีที่ไม่ขึ้นกับการปรับค่าปรกติที่มีการแจกแจงหลายตัวและตัวอย่างแบบเอกพันธุ์ และเนื่องจากว่าการสำรวจแบ่งแยกเป็นกลุ่มย่อย ความแตกต่างภายในกลุ่มและนอกกลุ่มก็จะมีค่าตรงกลางซึ่งเรียกว่าการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม
 
การศึกษาทฤษฏีข้อมูลมุ่งเน้นไปใช้งานเกี่ยวกับความสัมพันธ์การศึกษาเชิงพฤติกรรมเช่นเรื่อง [[ศึกษาศาสตร์]] และ[[จิตวิทยา]] หรือเน้นในการค้นพบช่วงทั้งหมดของข้อมูลการสำรวจ และทดลองทางการ[[แพทย์]] [[ชีววิทยา]] และ [[วิทยาศาสตร์]]สิ่งมีชีวิต
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ทฤษฎีสารสนเทศ]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}
 
[[หมวดหมู่:วิทยาการสารสนเทศ]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}
 
[[af:Inligtingsteorie]]