ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิชวลเค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "วิช่วลเคย์" → "วิชวลเค" ด้วยสจห.
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "วิช่วล" → "วิชวล" +แทนที่ "เคย์" → "เค" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
 
'''วิชวลเค''' ({{ญี่ปุ่น|ヴィジュアル系|vijuaru kei|ทับศัพท์จาก|Visual Kei}}) เป็น[[วัฒนธรรมย่อย]]ทางดนตรีรูปแบบหนึ่งของนักดนตรี[[ชาวญี่ปุ่น]] วิชวลเคมาจากการผสมคำว่า วิช่วลวิชวล ({{lang-en|Visual}}) ซึ่งแปลว่า "ภาพลักษณ์" และคำว่าเคย์เค ({{ญี่ปุ่น|系|kei}}) ซึ่งแปลว่า "แนวทาง" ดังนั้นวิชวลเคจึงสามารถนิยามได้ว่าเป็นวัฒนธรรมทางดนตรีที่เน้นภาพลักษณ์มากกว่าสกุลทางดนตรี หรือสั้นๆว่า "ดนตรีแนวภาพลักษณ์" <ref>[http://www.urbandictionary.com/define.php?term=visual%20kei|ilovevisualindiesbands, "Visual Kei" Quoted in Urban Encyclopedia, (Aug 31, 2003)]</ref> วิชวลเคมักถูกเข้าใจผิดว่ามีแต่วงดนตรีร็อกเพราะมีต้นกำเนิดมาจากวงดนตรีร็อกที่เรียกแนวทางของตนว่าวิช่วลร็อกวิชวลร็อก แต่อันที่จริงวงวิชวลเคมีแนวทางทางดนตีที่หลากหลายทั้งร็อก, ป๊อป, พังก์, โกธิก, เมทัล ฯลฯ
 
==กำเนิดของวิชวลเค==
บรรทัด 7:
ในช่วงทศวรรษที่ 1960 วงการดนตรีในสหรัฐอเมริกาและยุโรปเกิดวัฒนธรรมทางดนตรีชนิดหนึ่งที่เรียกว่า [[ไซเคเดลิกร็อก]] ซึ่งเน้นเนื้อหาของดนตรี และเนื้อเพลงเกี่ยวกับ[[การเมือง]], และจิตวิญญานแบบ[[เสรีนิยม]] ในส่วนของเสียงนั้นมีรากฐานมากจากเพลง[[บลูส์]]ผสมผสานเข้ากับ[[ร็อกแอนด์โรล]] ซึ่ง[[:en:Genre#Culture|แนวทาง]]ย่อยๆของวัฒนธรรมไซเคเดลิกร็อกอาทิ [[โพรเกรสซีฟร็อก]],[[พังก์ร็อก]],[[ฮาร์ดร็อก]] และ[[แกลมร็อก]] ได้ถูกนำเข้ามาสู่ญี่ปุ่นในราวกลางทศวรรษที่ 1960 และมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมทางดนตรีต่อวัยรุ่นในญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก<ref>http://www.japaneselifestyle.com.au/culture/j_rock.html</ref>
 
[[ไฟล์:X Circa 1980.jpg|200px|thumb|left|[[เอ็กซ์ เจแปน|เอ็กซ์]]วงดนตรีระดับ[[:en:Avant-garde|หัวหอก]]ของวัฒนธรรมวิช่วลร็อกวิชวลร็อก ภาพนี้ถ่ายราว ค.ศ. 1980]]
ในราวทศวรรษที่ 1980 วงดนตรี[[อินดี้ร็อก]]ของญี่ปุ่นได้แก่ [[เอ็กซ์ เจแปน|เอ็กซ์]], [[:en:Buck-Tick|บัค-ทิค]], [[:en:D'erlanger|เดอร์ แลงเจอร์]] และ [[:en:Color (band)|คัลเลอร์]] ได้เริ่มแสดงดนตรีด้วยการแต่งตัวด้วยชุดหนังสีดำ แต่งหน้าอย่างฉูดฉาด ย้อมสีผมเป็นสีสันแปลกๆ ที่สำคัญและทำให้วิช่วลร็อกวิชวลร็อกเป็นที่รู้จักคือมี[[:en:Cross-dressing|การแต่งกายแบบข้ามเพศ]]ซึ่งยังนิยมมาถึงวงวิชวลเคในปัจจุบัน วงดนตรีดังกล่าวเรียกแนวทางทางดนตรีของวงว่าเป็น '''วิช่วลร็อกวิชวลร็อก''' ซึ่งแปลว่าดนตรีร๊อกแนวภาพลักษณ์ โดยคำว่าวิช่วลร๊วิชวลร๊อกนี้มีที่มาจาก[[สโลแกน]]ของวงเอ็กซ์ที่ว่า '''Psychedelic Violence Crime of Visual Shock''' <ref name="bounce">Dejima, Kōji (出嶌 孝次)
[http://www.bounce.com/article/article.php/3419/ www.bounce.com Original Link], [http://web.archive.org/web/20070930153851/http://www.bounce.com/article/article.php/3419/ Archive Link], Bounce ''Di(s)ctionary Number 13 - Visual Kei'' Retrieved September 12, 2007 (Japanese)</ref> <ref name="visual kei jidai">{{cite book | last = Inoue | first = Takako | title = Visual kei no jidai | year = 2003 | publisher = [[Seikyūsha]] | location = Tokyo | isbn = 978-4787232168 }}</ref>
 
ช่วงทศวรรษที่ 1990 วิช่วลร็อกวิชวลร็อกกลายเป็นวัฒนธรรมทางดนตรีที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง มีวงดนตรีจำนวนมากที่นิยามแนวทางของวงว่าเป็นวิช่วลร็อกวิชวลร็อก อย่างไรก็ตามวงดนตรีจำนวนมากได้ผสมผสานดนตรีร็อกเข้ากับดนตรีอีกหลายสกุลอาทิ[[โกธิกร็อก]] อาทิ [[มาลิซไมเซอร์]], [[ป็อปร็อก]] อาทิ [[ลาร์คอองเซียล]], [[อัลเทอร์เนทีฟเมทัล]] อาทิ [[เดอร์ ออง เกรย์]] หรือไม่ก็เล่นดนตรีที่ไม่มีส่วนผสมของความเป็นร๊อกเลยอาทิ [[:en:Shazna|ชาซน่า]], [[:en:Penicillin (band)|เพนนิซิลลิน ]] ทำให้วงดนตรีเหล่านี้เรียกตัวเองว่าวิชวลเคแทน ในจุดสูงสุดของวิชวลเคนี้มีวงดนตรีที่ถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของวัฒนธรรมวิชวลเคคือ [[เอ็กซ์ เจแปน]], [[เกลย์]] และ [[ลูนาซี]]<ref name="bounce" /> ในช่วงปลายทศวรรษ 1990 วงดนตรีวิชวลเคจำนวนมากที่เริ่มมีชื่อเสียง และเซ็นต์สัญญากับค่ายคนตรีขนาดใหญ่เริ่มลดความฉูดฉาดของการแต่งตัวลง ในขณะที่วงดนตรีจำนวนมากมองว่าการกระทำดังกล่าวเป็นการละทิ้งอุดมการณ์ของวิชวลเค จึงมีวงดนตรีวิชวลเคที่มีชื่อเสียงจำนวนไม่น้อยที่ปฏิเสธที่จะเซ็นต์สัญญากับค่ายคนตรีขนาดใหญ่<ref>[http://www.urbandictionary.com/define.php?term=koteosa%20kei|Mahiro, "Soft Visual Kei" Quoted in Urban Encyclopedia, (Oct 21, 2007)]</ref> ค.ศ. 1999 วัฒนธรรมวิชวลเคเริ่มเสื่อมถอยไปพร้อมๆกับการเสียชีวิตของ [[ฮิเดะโตะ มัทซึโมะโตะ]] และนำมาซึ่งการประกาศยุบวงของ [[เอ็กซ์ เจแปน]] หลังจากลูนาซีประกาศยุบวงใน ค.ศ. 2000 ก็ยิ่งทำให้กระแสวิชวลเคซบเซา<ref name="bounce" />
 
อย่างไรก็ตามในทศวรรษที่ 2000 ถึงแม้จะซบเซาลงและไม่ได้กลายเป็นวัฒนธรรมทางดนตรีกระแสหลักของญี่ปุ่นดังที่เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษ 1990 วัฒนธรรมวิชวลเคเองก็ยังได้รับความนิยมอยู่ในหมู่วัยรุ่น โดยเฉพาะในย่าน [[:en:Harajuku|ฮาราจูกุ]] ซึ่งเป็นย่านการค้า และแฟชันที่สำคัญของญี่ปุ่น <ref>http://www.harajukustyle.net/visual_kei.htm</ref>
บรรทัด 17:
==แนวทางต่างๆของวิชวลเค==
 
การที่วงดนตรีวิชวลเคนั้นให้ความสำคัญกับ[[:en:Visual culture|วัฒนธรรมทางสายตา]]เป็นหลัก ดังนั้นวงดนตรีวิชวลเคจึงมักนิยามแนวทางของวงบนฐานของแฟชั่นมากกว่าแนวเพลงที่มักผสมผสานจนไม่สามารถนิยามได้อย่างตายตัว ในปัจจุบันแฟชั่นการแต่งกายของวงวิชวลเคเองก็มักผสมผสานจนไม่ได้สามารถแยกได้อย่างตายตัวว่าวงดนตรีใดมีแนวทางใด หากแบ่งหยาบๆวงวิชวลเคย์วิชวลเคสามารถแยกย่อยตามอารมณ์ของทำนองและเนื้อร้อง<ref>ดูเพิ่มที่ http://kei-music.myblog.de/kei-music/page/1675689</ref>เป็น 2 แบบกว้างๆคือ
*'''แนวดำ ({{lang-en|Black Kei}})''' จะมีเนื้อร้องและทำนองที่หมองหม่น เพลงที่เล่นมักมีจังหวะหนักแน่น หรือเน้นความเร็ว วงแนวนี้ส่วนมากจะเล่นเพลง[[เฮฟวีเมทัล|เมทัล]]เป็นหลัก บางทีวงแนวดำส่วนมากจึงมักถูกเรียกว่า '''เมทัล เคย์เค''' ({{ญี่ปุ่น|メタル系|Metaru kei}}) ด้วย
*'''แนวขาว ({{lang-en|White Kei}})''' จะมีเนื้อร้องและทำนองที่สดใสกว่า เน้นเมโลดี้ของเพลง และการเรียบเรียงที่งดงาม<ref>[http://www.urbandictionary.com/define.php?term=kote+kei|Mahiro, "Kote Kei" Quoted in Urban Encyclopedia, (Oct 21, 2007)]</ref>
 
อย่างไรก็ตามหากจำแนกแนวทางย่อยต่างๆของวิชวลเคตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันก็ยังพอสามารถจำแนกออกเป็นกลุ่มอย่างน้อย 5 กลุ่มใหญ่ โดยในแต่ละกลุ่มก็จะมีการแยกย่อยลงไปอีกมากมาย ดังนี้
 
===โคเทะเคย์เทะเค===
 
[[ไฟล์:มาน่า.jpg|100px|thumb|[[:en:Mana (musician)|มาน่า]]ผู้ให้กำเนิดนิยามของคำว่าโกธิก โลลิต้า]]
 
โคเทะเคย์เทะเค ({{ญี่ปุ่น|コテ系|kote kei}}) หรือวิชวลเคแบบโบราณ ({{lang-en|Traditional Visual Kei}}) บางทีก็เรียกว่าว่าโคเทะ, โคเทะโคเทะ, หรือโคเทะโคเทะเคย์เทะโคเทะเคเป็นวงดนตรีที่มีการแต่งตัวที่เน้นความเคร่งขรึม มืดมนเป็นหลัก โดยยึดถือแนวทางแฟชั่นของวงดนตรีวิช่วลร็อกในยุควิชวลร็อกในยุค 1980 เป็นสำคัญ ซึ่งแนวทางของวงแนวโคเทะเคย์เทะเคนั้นถูกนิยามด้วย 3 อุดมการณ์หลักคือ แปลก, ทราม และสุนทรีย์ โดยวงโคเทะเคย์เทะเคอาจมีทั้งแบบที่นำเอาวัฒนธรรมการแต่งตัว และเครื่องดนตรีของญี่ปุ่นมาผสมเข้ากับวัฒนธรรมวิชวลเค อาทิ [[:en:Kagrra|คางูระ]], [[องเมียวสะ]] หรือแบบที่ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรม[[โกธิกร็อก]] ({{ญี่ปุ่น|コツィク系|Gothic kei}}) และแฟชั่นแนว[[:en:Lolita Fashion#Gothic Lolita|โกธิก โลลิต้า]] อาทิ [[:en:Moi dix Mois|มัว ดิกซ์ มัวส์]] แต่งตัวแบบ [[ปีศาจ]] หรือ '''เดวิล เคย์เค''' ({{ญี่ปุ่น|デビル系|Debiru kei}}) อาทิ [[:en:D(band)|ดี]],[[:en:Phantasmagoria (band)|ฟานทาสมาโกเรีย]], [[:en:Matenrou Opera|มาเทนรู โอเปร่า]], หรือแบบ[[:en: Elegant Gothic Aristocrat|เอเลเกนท์ โกธิค เคย์เค]] อาทิ [[:en:Versailles (Japanese band)|แวร์ซาย์]] แต่งตัวแบบ[[คอสเพลย์]] ({{ญี่ปุ่น|コスプレ系|Kosubure kei}}) อาทิวง[[:en:Psycho le Cému|ไซโค เลอ เซมู]]
 
===โคเทะโอสะเคย์เทะโอสะเค===
 
[[ไฟล์:Glay (Gurei).jpg|150px|thumb|เกลย์กับการแต่งกายแนวโคเทะโอสะ การแต่งกายแบบนี้มีอิทธิพลต่อทั้งนาโงย่าเคย์เค และอังกุระเคย์ด้วยเคด้วย]]
 
โคเทะโอสะเคย์เทะโอสะเค ({{ญี่ปุ่น|コテ信系|koteosa kei}}) หรือวิชวลเคแบบนุ่มนวล ({{lang-en|Soft Visual kei}}) เป็นแนวทางการแต่งตัวที่เน้นการแต่งตัวแบบธรรมดา และการแต่งหน้าแบบบางๆมากกว่าแนวโคเทะเคย์เทะเค แต่ยังคงเน้นการแต่งกายด้วยสีดำเป็นหลัก วงวิชวลเคที่แต่งกายแบบโคเทะโอสะมักเป็นวงโคเทะเคย์เดิมเทะเคเดิม แต่ต่อมาได้เซ็นต์สัญญากับค่ายเพลงขนาดใหญ่จึงลดความฉูดฉาดของการแต่งตัวลง และมักทำดนตรีให้[[:en:Popular music|มีความเป็นเพลงตลาด]]มากขึ้น วงวิชวลเคที่มีการแต่งกายแบบโคเทะโอสะมีอาทิ [[เกลย์]], [[:en:Siam Shade|สยาม เฉด]], [[ลาร์คอองเซียล]], [[เดอร์ ออง เกรย์]], [[:en:heidi.|ไฮดี]], [[:en:Nightmare (Japanese band)|ไนท์แมร์]] ในส่วนของดนตรีและเนื้อร้องของวงแนวโคเทะโอสะส่วนมากนั้นมักจะเน้นเมโลดี้ และเนื้อเพลงที่ไม่มืดหม่นนัก และมักปฏิเสธว่าวงดนตรีของตนไม่ได้มีแนวทางแบบวิชวลเคด้วยเหตุผลว่าการแสดงดนตรีต้องแต่งหน้า แต่งตัวขึ้นเวทีอยู่แล้ว<ref>[http://www.urbandictionary.com/define.php?term=soft+visual+kei|Mahiro, "Soft Visual Kei" Quoted in Urban Encyclopedia, (Oct 21, 2007)]</ref> บางวงจึงเรียกแนวของวงตนเองว่า '''นอร์มอล เคย์เค''' ({{lang-en|Normal kei}}) หรือ '''โนรุมะ เคย์เค''' ({{ญี่ปุ่น|ノルマ系|์Noruma kei}})
 
===นาโงย่าเคย์เค===
นาโงย่าเคย์เค ({{ญี่ปุ่น|名古屋系|nagoya kei}}) เป็นวัฒนธรรมวิชวลเคที่กำเนิดขึ้นในเมือง [[นะโงะยะ]] และกระจายตัวได้รับความนิยมอยู่ในพื้นที่แถบ[[จังหวัดไอจิ]]ของญี่ปุ่น นาโงย่าเคย์เคกำเนิดขึ้นในราวทศวรรษที่ 1990 โดยได้รับอิทธิพลทางดนตรีจากดนตรี[[พังก์ร็อก#สหราชอาณาจักรและออสเตรเลีย|พังก์ฝั่งอังกฤษ]], [[โกธิกร็อก|ดนตรีโกธิก]] และ [[เดธเมทัล]] เนื้อร้องและทำนองของเพลงจากวงนาโงย่าเคย์เคจึงเน้นเสียงทุ้มต่ำแสดงออกถึงความมืดมน โหดร้าย สิ้นหวัง และความเศร้าเป็นหลัก การแต่งกายของวงนาโงย่าเคย์เคจะแต่งกายแบบคาบเกี่ยวระหว่างโคเทะโคเทะและโคเทะโอสะ บางครั้งก็มีการผสมผสานการแต่งกายแบบโอชาเระเข้ามาด้วยเพียงแต่ไม่จัดจ้านเท่า วงดนตรีที่ได้ชื่อว่าเป็นจุดกำเนิดของแนวนาโงย่าเคย์คือเคคือ วง ซิลเวอร์~โรส ({{lang-en|Silver~Rose}}) อย่างไรก็ตามมีวงที่นิยามแนวดนตรีของตนว่านาโงย่าเคย์เค แต่กลับไม่ได้รับการยอมรับว่าเป็นวงนาโงย่าเคย์เค อาทิ [[:en:Fanatic Crisis|ฟานาติก◇ไครซิส]],[[:en:Laputa (band)|ลาพิวต้า]], [[:en:Kagerou (band)|คาเงโระ]] ปัจจุบันวงดนตรีทีมีชื่อเสียงของแนวนาโงย่าเคย์คือเคคือ [[:en:Deathgaze|เดทเกซ]], [[:en:Lynch (band)|ลินช์]], [[:en:-Oz-|-ออซ-]], [[:en:9Goats Black Out|ไนน์โกทส์ แบล็คเอาท์]], [[:en:Gazelle|กาเซล]], [[:en:Eat You Alive|อีท ยู อไลฟ์]] เป็นต้น<ref>[http://www.jame-world.com/us/articles-6156-nagoya-kei.html|meg, "Nagoya Kei" in JaME World, (Nov 13, 2008)]</ref>
 
===อังกุระเคย์เค===
 
[[ไฟล์:Caligari.jpg|150px|thumb|วงคาลิ≠การิต้นกำเนิดเพลงอันกุระแนวอีโรกุโร]]
 
อังกุระเคย์เค ({{ญี่ปุ่น|アングーラ系|angura kei}}) เป็นวงดนตรีที่ไม่ได้มีลักษณะของวัฒนธรรมการแต่งกายที่ตายตัว การแต่งกายของวงดนตรีแนวอังกุระอาจแต่งกายทั้งแบบโคเทะเคย์เทะเค, โคเทะโอสะเคย์เทะโอสะเค, โอชาเระเคย์เระเค, นาโงย่าเคย์เค ได้ แต่จุดร่วมอย่างหนึ่งของวงแนวอันกุระเคย์เคคือการเรียบเรียงดนตรีโดยนำเอาสำเนียงแบบ[[พังก์ร็อก]] เข้ามาเป็นส่วนสำคัญของเพลง<ref>http://library.thinkquest.org/09jan-oracle-n-001/00648/page_482714669.html</ref> คำว่าอันกุระ ({{ญี่ปุ่น|アングーラ|angura|}}) นั้นก็คือการออกเสียงคำว่า Underground ด้วยสำเนียงแบบญี่ปุ่นนั่นเอง (ออกเสียงว่า อัง-ดะ-กุ-ระ-โดะ)<ref>[http://www.urbandictionary.com/define.php?term=angura|HavokLover, "Angura Kei" Quoted in Urban Encyclopedia, (Mar 21, 2006)]</ref> วงอันกุระ เคย์เคที่มีชื่อเสียงอาทิ [[เดอร์ ออง เกรย์]], [[:en:Cali≠Gari|คาลิ≠การิ]], [[:en:Heidi.|ไฮดี]],[[:en:Mucc|มักกุ]], [[:en:Girugamesh|กิรุกาเมช]], [[:en:Sadie (band)|ซาดิเอะ]]
 
นอกจากนี้วงอันกุระเคย์เคส่วนหนึ่งมีการแต่งเนื้อเพลงที่เน้นไปที่เรื่องเพศ, ความรุนแรง, ความวิปริต ซึ่งในภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า '''พอร์น เคย์เค''' ({{lang-en|Porn kei}}) หรือ '''โพรุโนะ เคย์เค''' ({{ญี่ปุ่น|ポルノ系|์Poruno kei}}) อีกคำหนึ่งที่ใช้คือ '''เวียร์ด เคย์เค''' ({{lang-en|Weird kei}}) หรือ '''วิอิโดะ เคย์เค''' ({{ญี่ปุ่น|ヰド系|์Wiido kei}}) และมีการแต่งตัวที่แปลกประหลาดโดยได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมทางดนตรีแบบ[[โพสต์พังก์]] โดยเฉพาะจากวง [[มาริลีน แมนสัน]] วงอันกุระกลุ่มนี้จะเรียกตัวเองว่า '''อีโร กุโร''' ({{ญี่ปุ่น|エログロ|ero guro}}) ซึ่งย่อมาจากคำว่า erotic and grotesque (ความหมกมุ่นทางเพศ และความวิตถาร)ซึ่งหยิบยืมชื่อมาจากวัฒนธรรม[[:en:Ero guro|อีโร กุโร นันเซ็ทสุ]]ของญี่ปุ่น วงอันกุระที่เป็นต้นกำเนิดของวัฒนธรรมอีโรกุโรคือวง [[:en:Cali≠Gari|คาลิ≠การิ]]<ref>[http://www.urbandictionary.com/define.php?term=angura|DIEsuke, "Eroguro" Quoted in Urban Encyclopedia, (Mar 10, 2005)]</ref> ส่วนวงอังกุระบางวงจะเน้นทำเพลงแบบ[[โพรเกรสซีฟร็อก]] ซึ่งจะเรียกตัวเองว่า '''สตอร์รี่ เคย์เค''' ({{lang-en|Story kei}} หรือ '''สุโตริ เคย์เค''' ({{ญี่ปุ่น|ヅトリ系|์Sutori kei}}) อาทิ [[:en:Strawberry Song Orchestra|สตอร์เบอร์รี่ ซอง ออเคสตร้า]], [[:en:Inugami Circus-dan|อินุงามิ เซอร์คัส-ดัง]] เป็นต้น
 
===โอชาเระเคย์เระเค===
 
[[ไฟล์:Ancafe.jpg|150px|thumb|วง[[:en:An Cafe|แอนคาเฟ่]]กับการแต่งกายแนวโอชาเระ]]
 
โอชาเระเคย์เระเค ({{ญี่ปุ่น|おしゃれ系|Oshare kei}}) เป็นแนวทางที่เกิดขึ้นกับวงวิชวลเคที่นำเอาวัฒนธรรมการแต่งตัวแบบฮาราจูกุ<ref>[http://www.urbandictionary.com/define.php?term=oshare%20kei|GazeROCK, "Oshare Kei" Quoted in Urban Encyclopedia, (Oct 14, 2006)]</ref> วัฒนธรรมของวงโอชาเระจะเน้นแฟชั่นที่ดูสดใส สวยงาม มีสีสัน ให้ความรู้สึกสนุกสนานและมีความสุขตามความหมายของคำว่าโอชาเระ ({{ญี่ปุ่น|おしゃれ|oshare}}) คือแฟชั่นธรรมดาที่ดูสดใส วัฒนธรรมโอชาเระยังยึดถือการแต่งตัวข้ามเพศเป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรมอีกด้วย ในวงโอชาเระบางวงจะมีการแต่งตัวที่ไม่เน้นสีสันหรือเครื่องประดับมากนัก รวมถึงไม่มีการแต่งตัวข้ามเพศ จะเรียกวงเหล่านี้ว่า '''[[:en:Fruits (magazine)|เดโคระ เคย์เค]]''' ({{ญี่ปุ่น|デコラ系|Decora kei}}) แต่ถ้าเน้นการแต่งตัวแบบ [[:en:Lolita Fashion#Sweet Lolita|คาวายอิ]] ก็จะเรียกว่า '''คาวายอิ เคย์เค''' ({{ญี่ปุ่น|かわいい系|Kawaii kei}}) แต่ถ้าเป็นวงที่มีกำเนิดแถวชิบุยะ จะเรียกตัวเองว่า '''ชิบุย่า เคย์เค''' ({{ญี่ปุ่น|渋谷系|Shibuya kei}})
 
วัฒนธรรมโอชาเระเป็นวิชวลเคที่เกิดหลังสุดคือราวต้นทศวรรษที่ 2000 ทว่าได้รับความนิยมใหมู่วัยรุ่นญี่ปุ่นอย่างรวดเร็ว โอชาเระเคย์เระเคได้รับอิทธิพลมาจากการแต่งกายของเรียวนักร้องนำของวง[[:en:Baroque (band)|บาโรค]] ในมิวสิควิดิโอเพลง "Anakuro Film" ({{ญี่ปุ่น|アナクロ film}}) และอิทธิพลและวัฒนธรรมการนำเสนอทางดนตรีของวง[[:en:hide (musician)#Spread Beaver|ฮิเดะ วิธ สเปรดบีเวอร์]]ในปัจจุบันวงดนตรีแนวโอชาเระถือได้ว่าเป็นวิชวลเคกระแสหลักของวัฒนธรรมวิชวลเค ซึ่งแนวเพลงของวงโอชาเระมักเป็นเพลงจังหวะสนุกสนาน โดยไม่เน้นที่ความเป็นร็อกมากนัก ที่สำคัญคือการนำเอาดนตรีแบบ[[อิเล็กทรอนิกา]]เข้ามาเป็นส่วนสำคัญของทำนองในเพลงวงดนตรีแนวโอชาเระที่มีชื่อเสียงอาทิ [[:en:The Gazette (band)|เดอะ กาเซตต์]], [[:en:Ayabie|อยาบิเอะ]], [[:en:Megamasso|เมก้ามัสโซ่]], [[แอนคาเฟ|แอนทิค คาเฟ่]], [[:en:Miyavi|มิยาบิ]] เป็นต้น<ref>[http://www.urbandictionary.com/define.php?term=oshare%20kei|roadieface, "Oshare Kei" Quoted in Urban Encyclopedia, (Dec 9, 2006 )]</ref>
 
==อิทธิพลของวิชวลเคในสังคมไทย==
บรรทัด 58:
[[ไฟล์:จีว่า.jpg|200px|thumb|วงจีว่าวงที่มีภาพลักษณ์แบบวิชวลเควงแรกๆในเมืองไทย]]
 
วัฒนธรรมวิชวลเคเข้ามามีอิทธิพลในสังคมไทยราวปลายทศวรรษที่ 1980 (ราว พ.ศ. 2530) โดยวัฒนธรรมที่ถูกนำเข้ามาในยุคนี้นั้นเป็นวัฒนธรรมในช่วงที่วิชวลเคยังถูกเรียกว่าวิช่วลร็อกอยู่วิชวลร็อกอยู่ ซึ่งทำให้ในปัจจุบันสังคมไทยยังเข้าใจวัฒนธรรมวิชวลเคด้วยการติดภาพของวงวิช่วลร็อกวิชวลร็อกในยุคแรกนี้
 
วัฒนธรรมวิชวลเคที่ถูกนำเข้ามาสู่สังคมไทยในส่วนของดนตรีนั้นที่เด่นชัดที่สุดคือเพลง "'''Say Anything'''" ของวงเอ็กซ์ที่ถูกนำมาเรียบเรียงเนื้อร้องใหม่เป็นเพลง "'''เธอไม่เคยตาย'''" โดยวง[[ทู]]({{lang-en|Two}}) และในช่วงเวลาเดียวกันนี้วงวิชวลเคจำนวนมากได้กลายเป็นที่รู้จักในสังคมไทย โดยสังคมไทยมักเรียกวงเหล่านี้ว่าวง'''เจร็อก''' และ'''[[:en:J-pop#1980s: Fusion with "kayōkyoku"|เจป็อป]]''' ซึ่งวงเหล่านี้ก็สร้างแฟนคลับได้มากพอสมควร ในเวลาต่อมาวง[[จิว่า]] ({{lang-en|Jiwa}}) <ref>http://moonclock.exteen.com/20100121/j-rock</ref> และ [[เพาเวอร์แพท]]({{lang-en|Power Pat}}) เป็นวงดนตรีไทยวงแรกๆที่นำเสนอภาพลักษณ์ของวงในแบบโคเทะโอสะเคย์เทะโอสะเค รวมถึงการเรียบเรียงเนื้อร้องและทำนองแบบวิชวลเค นอกจากนี้[[ไมเคิล ตั๋ง]] ยังเคยใช้ภาพลักษณ์แบบโคเทะเคย์เทะเคมาประกอบการแสดงในวง [[ฮ็อทด็อก]] ({{lang-en|Hot Dog}}) นอกจากนี้วัฒนธรรมวิชวลเคโดยเฉพาะวัฒนธรรมโคเทะโคเทะยังมีความสัมพันธ์กับจุดเริ่มต้นของกิจกรรมการแต่ง[[คอสเพลย์]] ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในสังคมไทยช่วงราว พ.ศ. 2541 อีกด้วย<ref>[http://www.propsops.com/cosplaywiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%84 คอสเพลย์เจร็อค, Cosplay Wiki]</ref> ในปัจจุบันวัฒนธรรมวิชวลเคแนวต่างๆก็ยังเป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีในสังคมไทย และมีนักดนตรีจำนวนหนึ่งที่ยังคงเล่นเพลงของวงวิชวลเคทั้งในแบบ[[:en:Cover version|เพลงคัพเวอร์]] และเพลงต้นฉบับ อาทิ วง ครักซ์ ({{lang-en|Crux}}), วงเดิรท บีช ({{lang-en|Dirt Beach}}), วงลาเมนเทีย ({{lang-en|Lamentia}})<ref>ดู http://jrock-explosion.exteen.com/bands-1</ref> , วงเมลโรส ({{lang-en|Malerose}})<ref>[http://www.siamzone.com/board/view.php?sid=1775112 ประวัติวงเมลโรส]</ref>, วงชายกะสัน<ref>[http://www.facebook.com/pages/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%99/111625368848922 เฟซบุ๊ควงชายกะสัน]</ref> เป็นต้น
 
== อ้างอิง ==