ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผ้าไหมแพรวา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''แพรวา''' หรือ ผ้าแพรวาเป็น[[ผ้าทอมือ]]อันเป็นเอกลักษณ์ของ[[ชาวผู้ไท]]ใน[[จังหวัดกาฬสินธุ์]] มีลักษณะเช่นเดียวกับผ้าสไบ ที่ใช้กันในหมู่ชาวไทยทั่วไป แต่มีสีสัน ลวดลาย ที่หลากหลายมากมาย และนิยมทอด้วยไหมทั้งผืน นับเป็น[[ผ้าไทย]]อีกรูปแบบหนึ่งที่ได้นับความนิยมสูงในหมู่ผู้นิยมผ้าไทยทั้งที่อยู่ในประเทศและต่างประเทศ
'''แพรวา'''
ผ้าแพรวาเป็นผ้าทออันเป็นเอกลักษณ์ของชาวผู้ไทในจังหวัดกาฬสินธุ์ มีลักษณะเช่นเดียวกับผ้าสไบ ที่ใช้กันในหมู่ชาวไทยทั่วไป แต่มีสีสัน ลวดลาย ที่หลากหลายมากมาย และนิยมทอด้วยไหมทั้งผืน
การทอผ้าแพรว่านั้น มีลักษณะที่คล้ายคลึงกับการทอผ้าจก นั่นคือใช้มือจก ยกเส้นด้ายยืน แล้วสอดด้ายสีไปตามลายผ้าที่ต้องการ ชาวผู้ไทยืนยันว่าการทอแพรวาแบบผู้ไทแท้นั้น จะไม่ใช้อุปกรณ์อื่นช่วย ไม่ว่าจะเป็นเข็ม ไม้ หรือขนเม่น นอกจากนี้ยังให้ด้านหลังของลายอยู่ด้านบนของกี่ (การทอแบบจกหลายแห่งก็ทอแบบนี้) ส่วนกี่ทอผ้าแพรวานั้น เท่าที่สำรวจ พบแต่กี่ขนาดใหญ่ ขณะที่ผ้าจกนั้นมีกี่ (ฟืม) ขนาดแคบพอดีกับหน้ากว้างของผ้า (เดิมนั้นชาวผู้ไทคงมีกี่หน้าแคบสำหรับทอแพรวา หรือทอผ้าอื่นๆ แต่ปัจจุบันไม่ปรากฏกี่หน้าแคบเลย)
 
==การทอ==
ลวดลายของแพรวามีลักษณะคล้ายคลึงกับลายขิดอีสานอยู่บ้าง ที่แตกต่างกันก็มี ความหลากหลายของสีสันในแต่ละลวดลายนั้นน้อยกว่าผ้าจกของชาวไทยพวนหรือไทยยวน แต่มีลักษณะรวมกันคือลายหลักมักเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมแปียกปูน (อันเป็นโครงสร้างพื้นฐานของลายผ้า)
การทอผ้าแพรว่านั้น มีลักษณะที่คล้ายคลึงกับการทอ[[ผ้าจก]] นั่นคือใช้มือจก ยกเส้นด้ายยืน แล้วสอดด้ายสีไปตามลายผ้าที่ต้องการ ชาวผู้ไทยืนยันว่าการทอแพรวาแบบผู้ไทแท้นั้น จะไม่ใช้อุปกรณ์อื่นช่วย ไม่ว่าจะเป็นเข็ม ไม้ หรือขนเม่น นอกจากนี้ยังให้ด้านหลังของลายอยู่ด้านบนของกี่ (การทอแบบจกหลายแห่งก็ทอแบบนี้) ส่วนกี่ทอผ้าแพรวานั้น เท่าที่สำรวจ พบแต่กี่ขนาดใหญ่ ขณะที่ผ้าจกนั้นมีกี่ (ฟืม) ขนาดแคบพอดีกับหน้ากว้างของผ้า (เดิมนั้นชาวผู้ไทคงมีกี่หน้าแคบสำหรับทอแพรวา หรือทอผ้าอื่นๆ แต่ปัจจุบันไม่ปรากฏกี่หน้าแคบเลย)
ผ้าแพรวาของชาวผู้ไทแต่เดิมนั้น มีโทนสีเป็นสีแดงคล้ำ หรือสีปูน เป็นหลัก เท่าที่สำรวจในแหล่งต่างๆ ไม่เคยเห็นผ้าแพรวาที่เก่ามากๆ เกิน 50-60 ปี เข้าใจว่าถูกซื้อไปจนหมด แม้กระทั่งในพิพิธภัณฑ์ที่อีสานก็ไม่มี
 
ลวดลายของแพรวามีลักษณะคล้ายคลึงกับลายขิดอีสานอยู่บ้าง ที่แตกต่างกันก็มี ความหลากหลายของสีสันในแต่ละลวดลายนั้นน้อยกว่าผ้าจกของชาวไทยพวนหรือไทยยวน แต่มีลักษณะรวมกันคือลายหลักมักเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมแปียกปูน (อันเป็นโครงสร้างพื้นฐานของลายผ้า)
สำหรับลวดลายของแพรวานั้นมีความหลากหลายพอๆ กับลายผ้าแบบอื่น ขึ้นกับความคิดสร้างสรรค์ของช่างทอนั่นเอง ลานหลักๆ ก็เช่น ลายนาคสี่แขน ช่อขันหมาก ดาวไต่เครือ และมีลายแถบ เช่น ดอกดาวหมู่ ดอกแปดขอ เป็นต้น ในผืนหนึ่งๆ จะลวดลายนับสิบลาย
การเรียงตัวของลายผ้านั้น เนื่องจากแพรวาใช้พาดในแนวตั้ง ลายผ้าจึงไล่ไปทางแนวตั้ง ขณะที่ผ้าจกลายผ้าจะไล่ไปแนวนอน ตามระดับการมอง
ผ้าแพรวาที่ทอในปัจจุบันจึงมีสองลักษณะ คือผ้าหน้าแคบขนาดแพรวาแบบเดิม (ผลิตน้อย) กับขนาดหน้ากว้างประมาณ 1 เมตร สำหรับการตัดเย็บใช้สอยอื่นๆ
 
สำหรับลวดลายของแพรวานั้นมีความหลากหลายพอๆ กับลายผ้าแบบอื่น ขึ้นกับความคิดสร้างสรรค์ของช่างทอนั่นเอง ลานหลักๆ ก็เช่น ลายนาคสี่แขน ช่อขันหมาก ดาวไต่เครือ และมีลายแถบ เช่น ดอกดาวหมู่ ดอกแปดขอ เป็นต้น ในผืนหนึ่งๆ จะลวดลายนับสิบลาย
ปัจจุบันความต้องการผ้าแพรวามีเพิ่มขึ้น จึงพยายามผลิตผ้าให้ผู้คนได้ซื้อหลากหลายระดับราคา สำหรับราคาที่ต่ำลงมา คือประมาณ 2,500 – 3,500 บาทต่อผืน (4 หลา) นั้นมักมีลวดลายน้อย สีสันน้อย และยังอาจใช้วิธียกเขา เพื่อความรวดเร็ว แทนที่จะใช้นิ้วยกด้ายสอดเช่นเดิม ความประณีตของลวดลายจึงต้องลดทอนลงไป เนื่องจากการยกเขานั้นเหมือนการทำพิมพ์ ที่จะต้องปรากฏลายซ้ำๆ เป็นช่วงๆ ในรอบหนึ่งๆ ของพิมพ์
ความสวยงามของผ้านั้นอยู่ที่ความประณีตของการทอ ความสม่ำเสมอของลวดลาย ไม่หลุดตกบกพร่อง หรือขาด หากทอด้วยมือทั้งผืน ความสม่ำเสมอของลวดลายจะน้อยกว่าการใช้เขาเก็บลาย แต่ลวดลายจะมีความอ่อนช้อย แน่น ไม่โปร่ง ด้านหลังของผ้ามีความเป็นระเบียบ ไม่โยงเส้นด้ายยาวเกินไป และใช้สีสันที่หลากหลายกว่า
 
การเรียงตัวของลายผ้านั้น เนื่องจากแพรวาใช้พาดในแนวตั้ง ลายผ้าจึงไล่ไปทางแนวตั้ง ขณะที่ผ้าจกลายผ้าจะไล่ไปแนวนอน ตามระดับการมอง
ปัจจุบันมีการส่งเสริมการทอผ้าแพรวาในโครงการส่งเสริมศิลปาชีพฯ หลายแห่งในภาคอีสาน โดยใช้เส้นไหมจากโรงงาน ผ้าที่ได้จึงมีความเรียบเนียนเป็นพิเศษ ต่างจากผ้ามัดหมี่ที่ใช้ไหมเลี้ยงมาทอบ้าง
 
แหล่งผลิตผ้าแพรวาที่สำคัญ คือ ที่บ้านโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ นอกจากนั้นยังมีที่ศูนย์ศิลปาชีพกุดนาขาม จ.สกลนคร และโครงการส่งเสริมศิลปาชีพอื่นๆ ในแถบจังหวัดนครพนม สกลนคร หนองคาย และมุกดาหาร
ผ้าแพรวาของชาวผู้ไทแต่เดิมนั้น มีโทนสีเป็นสีแดงคล้ำ หรือสีปูน เป็นหลัก เท่าที่สำรวจในแหล่งต่างๆ ไม่เคยเห็นผ้าแพรวาที่เก่ามากๆ เกิน 50-60 ปี เข้าใจว่าถูกซื้อไปจนหมด แม้กระทั่งในพิพิธภัณฑ์หลายที่อีสานก็ไม่มี
 
ผ้าแพรวาที่ทอในปัจจุบันจึงมีสองลักษณะ คือผ้าหน้าแคบขนาดแพรวาแบบเดิม (ผลิตน้อย) กับขนาดหน้ากว้างประมาณ 1 เมตร สำหรับการตัดเย็บใช้สอยอื่นๆ
 
==การทอในปัจจุบัน==
การทอผ้าแพรวาปัจจุบันได้รับการส่งเสริมจาก [[มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ทำให้มีการสืบทอดศิลปะการทอผ้าแพรวาแพร่หลายมากขึ้น เป็นที่นิยมมากขึ้น ความต้องการผ้าแพรวาวามรท้องตลาดจึงมีเพิ่มขึ้น จึงพยายามผลิตผ้าให้ผู้คนได้ซื้อหลากหลายระดับราคา สำหรับราคาที่ต่ำลงมา คือประมาณ 2,500 – 3,500 บาทต่อผืน (4 หลา) นั้นมักมีลวดลายน้อย สีสันน้อย และยังอาจใช้วิธียกเขา เพื่อความรวดเร็ว แทนที่จะใช้นิ้วยกด้ายสอดเช่นเดิม ความประณีตของลวดลายจึงต้องลดทอนลงไป เนื่องจากการยกเขานั้นเหมือนการทำพิมพ์ ที่จะต้องปรากฏลายซ้ำๆ เป็นช่วงๆ ในรอบหนึ่งๆ ของพิมพ์
 
ความสวยงามของผ้านั้นอยู่ที่ความประณีตของการทอ ความสม่ำเสมอของลวดลาย ไม่หลุดตกบกพร่อง หรือขาด หากทอด้วยมือทั้งผืน ความสม่ำเสมอของลวดลายจะน้อยกว่าการใช้เขาเก็บลาย แต่ลวดลายจะมีความอ่อนช้อย แน่น ไม่โปร่ง ด้านหลังของผ้ามีความเป็นระเบียบ ไม่โยงเส้นด้ายยาวเกินไป และใช้สีสันที่หลากหลายกว่า
 
ปัจจุบันมีการส่งเสริมการทอผ้าแพรวาในโครงการส่งเสริมศิลปาชีพฯ หลายแห่งในภาคอีสาน โดยใช้เส้นไหมจากโรงงาน ผ้าที่ได้จึงมีความเรียบเนียนเป็นพิเศษ ต่างจากผ้ามัดหมี่ที่ใช้ไหมเลี้ยงมาทอบ้าง
 
==แหล่งผลิตผ้าแพรวา==
แหล่งผลิตผ้าแพรวาที่สำคัญ คือ ที่บ้านโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ นอกจากนั้นยังมีที่ศูนย์ศิลปาชีพกุดนาขาม จ.จังหวัดสกลนคร และโครงการส่งเสริมศิลปาชีพอื่นๆ ในแถบจังหวัดนครพนม สกลนคร หนองคาย และมุกดาหาร