ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธุดงค์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ธุดงค์วัตร" → "ธุดงควัตร" ด้วยสจห.
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Pu panDhutanga02.jpg|thumb|150px|left|'''ธุดงค์''' หมายถึงข้อถือวัตรปฏิบัติเพื่อขัดเกลากิเลส 13 ข้อ ของพุทธศาสนิกชน ซึ่งไม่ได้หมายเฉพาะถึงแค่การถือกลดออกเดิน[[จาริกแสวงบุญ]]ไปตามสถานที่ต่าง ๆ ยังป่าเขาเพื่อวิเวกของ[[พระสงฆ์]]อย่างเดียวเท่านั้นไม่]]
{{พุทธศาสนา}}
'''ธุดงค์''' ({{lang-pi|ธุตงฺค}}, {{lang-en|Dhutanga}}) เป็นวัตรปฏิบัติที่[[พระพุทธเจ้า]]ทรงอนุญาตไว้ แต่ไม่มีการบังคับ แล้วแต่ผู้ใดจะสมัครใจปฏิบัติ<ref name="ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๓">พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑ ขุททกนิกาย มหานิทเทส '''ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๓'''. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=29&A=1418&Z=1821&pagebreak=0 ]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55</ref> เป็นอุบายวิธีกำจัดขัดเกลา[[กิเลส]] ทำให้เกิดความมักน้อย[[สันโดษ]]ยิ่งขึ้น ไม่สะสม เพื่อให้เบาสบายไปมาได้สะดวกด้วยไม่มีภาระมาก เหมือนนกที่มีเพียงปีกก็บินไป มิใช่เพื่อสะสมหรือเพื่อลาภ[[สักการะ]]และชื่อเสียง ถ้าทำเพื่อลาภ เพื่อชื่อเสียง ต้อง[[อาบัติ]][[ทุกกฏ]]<ref>พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2548). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง. หน้า 56</ref>
บรรทัด 6:
โดยรูปศัพท์ ธุดงค์ แปลว่า องค์คุณเป็นเครื่องกำจัดกิเลส, องค์คุณของผู้กำจัดกิเลส หรือ การสมาทานเพื่อเป็นเครื่องกำจัดกิเลสอันอันตรายต่อสัมมาปฏิบัติ<ref>ธุตังคนิเทศ ปริจเฉทที่ ๒. วิสุทธิมรรค เล่ม ๑ ภาคศีล ปริเฉทที่ ๒. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84_%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%A1_%E0%B9%91_%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A8%E0%B8%B5%E0%B8%A5_%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_%E0%B9%92_%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8_%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_%E0%B9%98%E0%B9%90_-_%E0%B9%98%E0%B9%95]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55</ref> ธุดงค์นั้น เป็นศัพท์เฉพาะที่ปรากฏใน[[พระไตรปิฎก]]เถรวาท โดยพระพุทธเจ้าตรัสแสดงธุดงค์ลักษณะต่าง ๆ ไว้หลายพระสูตร เมื่อรวมแล้วจึงได้ทั้งหมด 13 ข้อ<ref name="ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๓"/><ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑ '''ปาราชิกกัณฑ์ ปฐมปาราชิกสิกขาบท''' . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=1&A=316&Z=670&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55</ref><ref name="กฐินขันธกะ">พระไตรปิฎก เล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒ '''กฐินขันธกะ'''. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=05&A=2648&Z=2683]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55</ref>
 
ปัจจุบัน ธุดงค์ ในปัจจุบันยังคงเป็นแนวการปฏิบัติที่เป็นที่นิยมของชาวพุทธเถรวาททั่วไปในหลายประเทศ โดยไม่จำกัดเฉพาะพระสงฆ์เท่านั้น คฤหัสถ์ทั่วไปก็ถือปฏิบัติได้บางข้อเช่นกัน<ref>The Path of Freedom (Vimuttimagga), Buddhist Publication Society, Kandy, Sri Lanka. ISBN 955-24-0054-6</ref> สำหรับในประเทศไทย คำว่า '''ธุดงค์''' มักเข้าใจผิดว่าหมายถึงการจาริกเดินเท้าของพระสงฆ์โดยแบก[[บริขาร]] เช่น กรด ย่าม และ[[บาตร]] เพื่อเดินทางไปยังที่ต่าง ๆ ซึ่งไม่ใช่ความหมายของคำว่าธุดงค์ตามนัยใน[[พระไตรปิฎก]]{{fn|1}}
 
ปัจจุบัน คำว่า '''ธุดงค์''' ในประเทศไทยถูกใช้ในความหมายว่าเป็นการเดินจาริกของพระสงฆ์ไปยังที่ต่าง ๆ หรือเรียกว่า '''การเดินธุดงค์''' ซึ่งความหมายนี้แตกต่างจากความหมายเดิมใน[[พระไตรปิฎก]]{{fn|1}}
 
 
 
== ความหมาย ==
เส้น 16 ⟶ 20:
'''ธุดงควัตร''' หมายถึงกิจวัตรของการธุดงค์ที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตมี 13 วิธีจัดเป็นข้อ[[สมาทาน]]ละเว้น และข้อสมาทานปฏิบัติ คือ
[[ไฟล์:Monk on pilgrimage.jpg|thumb|200px|ปัจจุบันคำว่าธุดงค์ในประเทศไทยถูกใช้ในความหมายว่าเป็นการเดิน[[จาริก]]ของพระสงฆ์ หรือ การเดินธุดงค์ ซึ่งแตกต่างจากความหมายเดิมในพระไตรปิฎก]]
 
# '''ปังสุกูลิกังคะ''' ละเว้นใช้ผ้าที่ประณีตเหมือนที่คหบดีใช้ (พระป่านิยมใช้ผ้าท่อนเก่า) สมาทานถือใช้แต่ผ้า[[บังสุกุล]]ที่เขาทิ้งแล้ว (ข้อนี้ตามคัมภีร์เมื่อเทียบกับวัดป่าไม่ต่างกัน)
# '''เตจีวริตังคะ''' ละเว้นการมีผ้าครอบครองและใช้สอยผ้าเกิน 3 ผืน (วัดป่าสมาทานการใช้สอยผ้าไตรจีวร ในความหมายว่าผ้านุ่ง ผ้าห่ม ผ้าคลุมด้วย (ในทางปฏิบัติจะใช้ผ้าคลุมนุ่งเมื่อซักตากผ้านุ่งและผ้าห่มชั่วคราว) คือ ผ้าที่เป็นผืน ๆ ที่ไม่ได้ตัดเป็นชุด ตามหลักผ้าใช้นุ่งห่มเพื่อกันความร้อนความเย็นและปกปิดร่างกายกันความน่าอายเท่านั้น
เส้น 33 ⟶ 39:
## อยู่บน[[กุฏิ]][[วิหาร]]ให้ทำให้สะอาด ถ้าตามโคนไม้ไม่กวาดหรือทำอะไรเพราะใบไม้มีประโยชน์เช่นทำให้เท้าไม่ เปื้อนก่อนเข้าอาสนะ และสัตว์หรือคนเข้ามาย่อมได้ยินเสียง.
# '''เนสัชชิกังคะ''' สมาทานถืออิริยาบถนั่ง-อิริยาบถยืน-อิริยาบถเดินเพียง 3 อิริยาบถไม่อยู่ในอิริยาบถนอน ส่วนของวัดป่านั้นจะมีวิธีการเพิ่มออกนอกไปจากคัมภีร์อีก คือ ''ละเว้นการหลับ''ด้วย ซึ่งก็ทำได้ไม่ผิด (มักเรียกการประพฤตินี้ว่าเนสัชชิก)
 
[[ไฟล์:Buddhist pilgrimage.jpg|thumb|150px|การ[[จาริก]]ของพระสงฆ์ในประเทศไทย มักเข้าใจปะปนกับคำว่า ธุดงค์ ทั้งนี้เนื่องจากบางข้อของธุดงควัตร เช่น อรัญญิกังคะ หมายถึงการอยู่ในบริเวณป่า ทำให้พระสงฆ์ที่ถือธุดงค์ข้อนี้จะต้องเดินทางไปหาที่วิเวกในบริเวณป่าและไม่อยู่ติดที่เป็นเวลานาน]]
 
[[ไฟล์:Buddhist monk in Khao Luang-Sukhothai.JPG|thumb|150px|การถือธุดงค์ตามความหมายในพระไตรปิฎกสามารถเลือกสมาทานได้ โดยไม่จำเป็นต้องยึดติดกับรูปแบบการเดินถือกรดบาตรไปที่ต่าง ๆ เช่น การถืออรัญญิกังคะ (อยู่ป่า) โสสานิกังคะ (อยู่ป่าช้า) เพราะธุดงค์เป็นแนวทางเอื้อให้ผู้ปฏิบัติได้มีความวิเวกปราศจากความวุ่นวายจากสังคม เพื่อมุ่งต่อการปฏิบัติธรรมทางจิตอย่างเข้มงวด]]
 
== วัตรปฏิบัติ ==
เส้น 47 ⟶ 57:
 
=== หมวดที่ 3 เสนาสนปฏิสังยุตต์ (เกี่ยวกับเสนาสนะ) ===
 
# '''ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร''' คือจะอยู่อาศัยเฉพาะในป่าเท่านั้น จะไม่อยู่ในหมู่บ้านเลย เพื่อไม่ให้ความพลุกพล่านวุ่นวายของเมืองรบกวนการปฏิบัติ หรือเพื่อป้องกันการพอกพูนของ[[กิเลส]]
# '''ถือการอยู่โคนไม้เป็นวัตร''' คือจะพักอาศัยอยู่ใต้ต้นไม้เท่านั้น งดเว้นจากการอยู่ในที่มีหลังคาที่สร้างขึ้นมามุงบัง
เส้น 80 ⟶ 91:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commons|Category:Dhutanga|เดินธุดงค์}}
* [[พระราชวุฒาจารย์ (ดูลย์ อตุโล)]]. (2555). '''แบบฉบับการเดินธุดงค์'''. [ออน-ไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.atulo.org/history/history056.htm
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ธุดงค์"