ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kelos omos1 (คุย | ส่วนร่วม)
update hu,pt language variation, เพิ่มเติม
บรรทัด 1:
{{โครงวิทยาศาสตร์}}
'''ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง (Gravitational singularity)''' คือจุดซึ่งทำให้ กฏต่างๆ ทาง[[ฟิสิกส์]]หรือ[[ดาราศาสตร์ฟิสิกส์]]ที่เรารู้จักกันใช้การไม่ได้ ตัวอย่างเช่น
'''ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง''' (gravitational singularity) คือภาวะซึ่งเกิดขึ้นเมื่อลักษณะ[[ดาราศาสตร์ฟิสิกส์]]ที่มีพื้นฐานมาจาก[[สัมพัทธภาพสามัญ]] (general relativity) โดยมีเหตุมาจากการคาดการณ์[[พฤติกรรมเชิงอายุรการ]] (pathological bahavior) ของ[[อวกาศกาล|เวลาในอวกาศ]] (space-time) เช่นความโค้งของเวลาในอวกาศที่มีค่าเป็น[[อนันตภาพ|อนันต์]] (infinite) นิยามนี้มีความคล้ายคลึงกับ[[ภาวะเอกฐานเชิงคณิตศาสตร์]] (mathematical singularity) เป็นอย่างมากในเชิงที่ว่าภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วงนั้นจะเกิดขึ้นเมื่อสมการแสดงภาวะเอกฐานเชิง[[คณิตศาสตร์]]
 
ข้อสังเกตของภาวะเอกฐานคือ ณ จุดหนึ่งเมื่อความโค้งของเวลาในอวกาศเกิดการระเบิดขึ้น ล้วนเป็นช่วงที่การอธิบายเป็นการจินตนาการเสียส่วนมาก อย่างไรก็ตามภาวะเอกฐานนั้นสามารถเกิดขึ้นจริงได้แม้ว่าความโค้งของเวลาในอวกาศยังคงไม่เป็นอนันต์อยู่ก็ตาม
ซิงกูลาริตี ที่ศูนย์กลางของ [[หลุมดำ]] (Black hole) เป็นจุดที่มวลสารอัดแน่นจนมีขนาดเล็กเป็น[[อนันต์]] (infinite) และมีความหนาแน่นสูงมาก จนมีค่าอนันต์เช่นกัน ในทฤษฏี[[บิกแบง]] (Big Bang) ก็เช่นกัน [[เอกภพ]]เกิดจากซิงกูลาริตี singularity ของความหนาแน่นและอุณหภูมิที่มีค่าอนันต์
 
ในทางปฏิบัตินั้น เวลาในอวกาศจะเป็นเอกฐานได้ก็ต่อเมื่อ:
*เกิดความไม่สมบูรณ์ใน''โครงสร้างเชิงปริมาตรธรณี''
*เวลาในอวกาศ''ไม่สามารถดำเนินต่อไปได้''
 
เมื่อเวลาในอวกาศอยู่ภายใต้สองเงื่อนไขดังกล่าว ภาวะเอกฐานจะปรากฎขึ้น ณ จุดเกิด/จุดดับที่เกิดความไม่สมบูรณ์
 
ซิงกูลาริตี ภาวะเอกฐานที่ศูนย์กลางของ [[หลุมดำ]] (Black hole) เป็นจุดที่มวลสารอัดแน่นจนมีขนาดเล็กเป็น[[อนันตภาพ|อนันต์]] (infinite) และมีความหนาแน่นสูงมาก จนมีค่าอนันต์เช่นกัน ในทฤษฏี[[บิกแบงทฤษฏีบิ๊กแบงก์]] (Big Bang) ก็เช่นกัน [[เอกภพ]]เกิดจากซิงกูลาริตี singularity ภาวะเอกภาพของความหนาแน่นและอุณหภูมิที่มีค่าอนันต์
 
{{โครงวิทยาศาสตร์}}
[[category:หลุมดำ]]
 
เส้น 12 ⟶ 19:
[[fr:Singularité]]
[[he:סינגולריות כבידתית]]
[[hu:Gravitációs szingularitás]]
[[pt:Singularidade gravitacional]]
[[sl:gravitacijska singularnost]]
[[fi:singulariteetti]]