ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธุดงค์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Pu pan.jpg|thumb|150px|left|'''ธุดงค์''' หมายถึงข้อถือวัตรปฏิบัติเพื่อขัดเกลากิเลส 13 ข้อ ของพุทธศาสนิกชน ซึ่งไม่ได้หมายเฉพาะถึงการถือกลดออกจาริกแสวงบุญไปตามสถานที่ต่าง ๆ ของ[[พระสงฆ์]]อย่างเดียวเท่านั้นไม่]]
{{พุทธศาสนา}}
'''ธุดงค์''' ({{lang-pi|ธุตงฺค}}, {{lang-en|Dhutanga}}) หรือที่เรียกว่า '''ธุดงค์ 13''' คือวัตร หรือแนวทางการปฏิบัติ 13 ข้อ เป็นวัตรปฏิบัติที่[[พระพุทธเจ้า]]ทรงอนุญาตไว้ให้แก่พระสงฆ์สำหรับเลือกนำไปปฏิบัติ เพื่อมุ่งให้เป็นแนวปฏิบัติเพิ่มเติมของพระสงฆ์ที่ตั้งใจสมาทานความเพียรเพื่อมุ่งขัดเกลาทางจิตเพื่อกำจัด[[กิเลส]] โดยธุดงค์นี้เป็นเพียงวัตร หรือแนวทางแต่ไม่มีการประพฤติบังคับ ที่ไม่ใช่[[ศีล]]ของพระสงฆ์ พระสงฆ์จึงเลือกแล้วแต่ผู้ใดจะสมัครใจปฏิบัติหรือไม่ก็ได้ขึ้นอยู่กับความสมัครใจ<ref name="ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๓">พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑ ขุททกนิกาย มหานิทเทส '''ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๓'''. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=29&A=1418&Z=1821&pagebreak=0 ]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55</ref> และการปฏิบัติธุดงค์เป็นอุบายวิธีกำจัดขัดเกลา[[กิเลส]] ทำให้เกิดความมักน้อย[[สันโดษ]]ยิ่งขึ้น ไม่สะสม เพื่อให้เบาสบายไปมาได้จำกัดเฉพาะพระสงฆ์เท่านั้นสะดวกด้วยไม่มีภาระมาก คฤหัสถ์ทั่วไปเหมือนนกที่มีเพียงปีกก็ถือปฏิบัติได้บางข้อเช่นกันบินไปฉนั้น มิใช่เพื่อสะสมหรือเพื่อลาภ[[สักการะ]]และชื่อเสียง ถ้าทำเพื่อลาภ เพื่อชื่อเสียง ต้องอาบัติ[[ทุกกฏ]]
 
โดยรูปศัพท์ ธุดงค์ แปลว่า องค์คุณเป็นเครื่องกำจัดกิเลส, องค์คุณของผู้กำจัดกิเลส หรือ การสมาทานเพื่อเป็นเครื่องกำจัดกิเลสอันอันตรายต่อสัมมาปฏิบัติ<ref>ธุตังคนิเทศ ปริจเฉทที่ ๒. วิสุทธิมรรค เล่ม ๑ ภาคศีล ปริเฉทที่ ๒. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84_%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%A1_%E0%B9%91_%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A8%E0%B8%B5%E0%B8%A5_%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_%E0%B9%92_%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8_%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_%E0%B9%98%E0%B9%90_-_%E0%B9%98%E0%B9%95]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55</ref> ธุดงค์นั้น เป็นศัพท์เฉพาะที่ปรากฏใน[[พระไตรปิฎก]]เถรวาท โดยพระพุทธเจ้าตรัสแสดงธุดงค์ลักษณะต่าง ๆ ไว้หลายพระสูตร เมื่อรวมแล้วจึงได้ทั้งหมด 13 ข้อ<ref name="ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๓"/><ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑ '''ปาราชิกกัณฑ์ ปฐมปาราชิกสิกขาบท''' . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=1&A=316&Z=670&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55</ref><ref name="กฐินขันธกะ">พระไตรปิฎก เล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒ '''กฐินขันธกะ'''. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=05&A=2648&Z=2683]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55</ref>
บรรทัด 9:
 
== ความหมาย ==
'''ธุดงค์ 13''' คือวัตร หรือแนวทางการปฏิบัติ 13 ข้อ ที่[[พระพุทธเจ้า]]อนุญาตไว้ให้แก่พระสงฆ์สำหรับเลือกนำไปปฏิบัติ เพื่อมุ่งให้เป็นแนวปฏิบัติเพิ่มเติมของพระสงฆ์ที่ตั้งใจสมาทานความเพียรเพื่อมุ่งขัดเกลาทางจิตเพื่อกำจัด[[กิเลส]] โดยธุดงค์นี้เป็นเพียงวัตร หรือแนวทางการประพฤติ ที่ไม่ใช่[[ศีล]]ของพระสงฆ์ พระสงฆ์จึงเลือกปฏิบัติหรือไม่ก็ได้ขึ้นอยู่กับความสมัครใจ<ref name="ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๓"/> และการปฏิบัติธุดงค์ ไม่ได้จำกัดเฉพาะพระสงฆ์เท่านั้น คฤหัสถ์ทั่วไปก็ถือปฏิบัติได้บางข้อเช่นกัน
'''ธุดงค์''' เป็นวัตรปฏิบัติที่[[พระพุทธเจ้า]]ทรงอนุญาตไว้ แต่ไม่มีการบังคับ แล้วแต่ผู้ใดจะสมัครใจปฏิบัติ เป็นอุบายวิธีกำจัดขัดเกลา[[กิเลส]] ทำให้เกิดความมักน้อย[[สันโดษ]]ยิ่งขึ้น ไม่สะสม เพื่อให้เบาสบายไปมาได้สะดวกด้วยไม่มีภาระมาก เหมือนนกที่มีเพียงปีกก็บินไปฉนั้น มิใช่เพื่อสะสมหรือเพื่อลาภ[[สักการะ]]และชื่อเสียง ถ้าทำเพื่อลาภ เพื่อชื่อเสียง ต้องอาบัติ[[ทุกกฏ]]
 
'''ธุดงค์''' ในภาษาไทย ใช้เรียกพระ[[ภิกษุ]]แบกกลดเดินไปตามทางหรือเข้าป่าไปว่า [[เดินธุดงค์]] หรือ [[ออกธุดงค์]] เรียก[[ภิกษุ]]ที่ปฏิบัติเช่นนั้นว่า [[พระธุดงค์]] ธุดงค์ในภาษาไทยนี้จึงมีความหมายเฉพาะตัวตามประเพณีของพระวัดป่าของประเทศไทย<ref name="แบบฉบับการเดินธุดงค์">[[พระราชวุฒาจารย์ (ดูลย์ อตุโล)]]. (2555). '''แบบฉบับการเดินธุดงค์'''. [ออน-ไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.atulo.org/history/history056.htm เข้าถึงเมื่อ 5-4-55</ref> ซึ่งต่างจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาอยู่เป็นอย่างมาก เพราะธุดงค์ตามคัมภีร์นั้น ผู้ปฏิบัติไม่จำเป็นต้องเดินเที่ยวไปทั่ว, ไม่จำเป็นต้องอยู่ป่า, ไม่มีการใช้กลด, ไม่รับเงินเด็ดขาด เป็นต้น.
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ธุดงค์"