ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฉางอาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
เมืองฉางอานยังเป็นเมืองศูนย์กลางทางวัฒนธรรม มีกิจกรรมความบันเทิงต่างๆมากมาย อาทิ การร้องรำทำเพลง,การแข่งขันชนไก่,ชักเย่อ,โล้ชิงช้า ฯลฯ จิตกร นักอักษรศิลป์ กวีที่มีชื่อเสียงต่างก็พักอาศัยอยู่ในเมืองฉางอาน ผลงานของผู้คนเหล่านี้ทำให้เมืองฉางอานมีสีสันมากขึ้น
 
เมืองฉางอานยังเป็นเมืองที่วัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออกมาบรรจบกัน ในยุคนั้นประเทศต่างๆกว่า70ประเทศ ได้มาเจริญสัมพันธไมตรีกับ[[ราชวงศ์ถัง]] เส้นทางสายไหมมีความเจริญสูงสุด ประเทศญี่ปุ่น ซินหลอ(เมื่องสยามเมืองสยาม หรือ เมืองประเทศไทย ในสมัยโบราณนั่นเอง เนื่องจากชาวจีน ต้องการออกเสียงคำว่า ศรี ซึ่งมาจากคำว่า กรุงศรี แต่ออกเสียงไม่ได้ จึงทำให้ออกเสียงกลายเป็น ซินหลอ อ้างอิงได้จากบันทึกของฑูลชาวจีนที่มาติดต่อการค้ากับประเทศสยามในสมัยราชวงศ์ถัง) และประเทศอื่นๆอีกมากมาย ต่างส่งคนมาศึกษาเล่าเรียน พ่อค้าจากเปอร์เซีย(ส่วนหนึ่งของประเทศอิรักในปัจจุบัน) กับทาจิคส์ (ส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกกลาง) ต่างมุ่งหน้ามาทำการค้าขายที่เมืองฉางอาน ในเวลานั้นเมืองฉางอานมีประชากรถึง 1 ล้านคน รวมกับชาวต่างชาติที่ย้ายมาพำนักอีกว่าหมื่นคน เมืองฉางอานไม่เพียงแต่เป็นเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม แต่ยังกลายเป็นเมืองระดับนานาชาติที่มีชื่อเสียงเมืองหนึ่งอีกด้วย <ref>วิทยาลัยภาษาจีนปักกิ่ง,มหาวิทยาลัยครูหนานจิง,มหาวิทยาลัยครูอันฮุย.''ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ประเทศจีน''.กรุงเทพฯ:สุขภาพใจ.2550</ref>
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฉางอาน"