ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาเผาะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการอ้างอิงเพิ่มอย่างรวดเร็วด้วยสคริปต์ผู้ใช้
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
 
{{Taxobox
| color = pink
| name = เผาะ
| image = Image010โมง.jpg
เส้น 21 ⟶ 18:
'''ปลาเผาะ''' ชื่อเรียกปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Pangasius bocourti'' อยู่ใน[[วงศ์ปลาสวาย, ปลาสังกะวาด]] (Pangasiidae) มีลักษณะส่วนหัวมนกลม ปากแคบ รูปร่างป้อม ท้องอูม ลำตัวตอนหน้าค่อนข้างกลม และแบนข้างเล็กน้อยที่ด้านท้าย ครีบไขมันเล็ก ปลาวัยอ่อนมีสีเทาเหลือบเหลืองหรือเขียวอ่อน ข้างลำตัวมีแถบคล้ำ ครีบอกมีแต้มสีจาง ปลาตัวเต็มวัยมีสีเทาอมน้ำตาลอ่อนหรือฟ้าอ่อน ท้องสีขาว ครีบสีจาง ครีบหางมีแถบสีคล้ำจาง มีขนาดประมาณ 60 - 80 [[เซนติเมตร]]
 
ปลาวัยอ่อนกินแมลง ปลาตัวเต็มวัยกินพืชเป็นส่วนใหญ่ อาจกินแมลงและหอยบ้าง พบใน[[แม่น้ำโขง]]ถึง[[อำเภอเชียงของ]] [[จังหวัดเชียงราย]] และใน[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]<ref name=Fishbase>Froese, Rainer, and Daniel Pauly, eds. (2012). [http://www.fishbase.org/summary/Pangasius-bocourti.html ''"Pangasius bocourti"''] in FishBase. February 2012 version.</ref> พบน้อยใน[[แม่น้ำบางปะกง]] บริโภคโดยการปรุงสดและรมควัน และยังสามารถเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้วย [[กรมประมง]]ในขณะนี้มีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรโดยเฉพาะใน[[ภาคอีสาน]]เลี้ยงปลาชนิดนี้เป็นปลาเศรษฐกิจชนิดใหม่ ขณะที่ต่างประเทศเช่นที่ [[เวียดนาม]] ก็ได้เลี้ยงเป็นปลาเศรษฐกิจเช่นเดียวกัน<ref>[http://www.tradepointthailand.org/n_detail.php?id=482 ปลาเผาะไทยล็อตแรกช่วงชิงตลาดเวียดนาม ]</ref>
 
เผาะ ยังมีชื่อเรียกต่าง ๆ อีกมากมาย เช่น "โมง", "โมงยาง", "ยาง" หรือ "อ้ายด้อง" ชื่อในวงการปลาสวยงามเรียกว่า "ปลาบึกโขง" ใน[[ภาษาเวียดนาม]]เรียกว่า "บาซา" (Cá ba sa) เป็นต้น