ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไดโจไดจิง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ไดโจไดจิน" → "ไดโจไดจิง" +แทนที่ "ไดโจ ไดจิน" → "ไดโจไดจิง" +แทนที่ "ไดจิน" → "ไดจิง" +แทนที...
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ไดโจไดจิง''' (太政大臣) หรือ '''อัครมหาเสนาบดี''' เป็นตำแหน่งสูงสุดของขุนนางฝ่ายบริหารของ[[ญี่ปุ่น]] เริ่มปรากฎปรากฏครั้งแรกในปี [[พ.ศ. 1246]] โดยมีเจ้าชายโอซากะเบะเป็นผู้ประเดิมตำแหน่ง หลังจากนั้นใน[[ยุคเฮอัน]] คนใน[[ตระกูลฟุจิวะระ]]ได้เป็นผู้ผูกขาดตำแหน่งไดโจไดจิงเรื่อยมา
 
โครงสร้างการบริหาร จะแบ่งออกไปสามส่วน คือ ส่วนแรก ไดโจไดจิง หรืออัครมหาเสนาบดี เป็นผู้กุมอำนาจส่วนกลาง และประกอบด้วย ''ซาไดจิง'' (左大臣) เสนาบดีฝ่ายซ้าย และ''อุไดจิง'' (右大臣) เสนาบดีฝ่ายขวา โดยอัครมหาเสนาบดี จะเป็นประธานของสภาใหญ่แห่งรัฐ และหัวหน้าของบรรดาข้าราชการ โดยเฉพาะเสนาบดีฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา ตลอดจนสี่ขุนนางใหญ่และสามขุนนางเล็ก แต่ในสมัย[[เอะโดะ]] ซึ่งเป็นยุคที่[[รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ]]เรืองอำนาจ ตำแหน่งไดโจไดจิงเป็นตำแหน่งที่ไม่มีอำนาจแต่ก็มีการสืบตำแหน่งเรื่อยมา พอถึงรัชสมัย[[สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ]] จึงได้ยกเลิกตำแหน่งนี้ และเปลี่ยนเป็นตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]]แทน เพื่อให้เป็นอย่างสากล
บรรทัด 7:
* [[เซ็สโชและคัมปะกุ]]
 
{{โครง}}
 
{{เรียงลำดับ|ดไโจ ดไจิน}}
[[หมวดหมู่:ตระกูลฟุจิวะระ]]
[[หมวดหมู่:ราชสำนักญี่ปุ่น]]
{{โครง}}
 
[[de:Daijō Daijin]]