ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์ปลาเหาฉลาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Taxobox
| name = ปลาเหาฉลาม
| image = spearfishRemora remora.jpg
| image_width = 250px
| image_caption = ปลาเหาฉลามชนิด ''[[Remora remora]]''
| image_caption = [[ภาพวาด]]โดยทั่วไปของปลาเหาฉลาม
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
บรรทัด 19:
| synonyms = *'''[[Echeneididae]]'''
}}
 
[[ไฟล์:Remora_Belize_Reef.jpg|thumb|right|ปลาเหาฉลามแสดงให้เห็นส่วนที่ใช้ยึดเกาะ]]
'''ปลาเหาฉลาม''' หรือ '''ปลาเหา''' หรือ '''ปลาเหาทะเล''' หรือ '''ปลาติด'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-19-search.asp ติด ๓ ตาม[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]]</ref> ({{lang-en|Sucker shark, Ramora}}) เป็น[[ปลาทะเล]][[ปลากระดูกแข็ง|ปลากระดูกแข็ง]]ใน[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]] Echeneidae ใน[[อันดับปลากะพง]] (Perciformes)
 
บรรทัด 27:
== นิเวศวิทยา ==
ชอบเกาะติดอยู่กับสัตว์ใหญ่ เช่น [[ปลาฉลาม]], [[ปลากระเบนแมนตา|กระเบนราหู]] หรือ[[เต่าทะเล]] โดยใช้อวัยวะสำหรับดูดติด ดังนั้นจึงมีแหล่งที่อยู่ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสัตว์ที่อาศัยเกาะอยู่ แต่บางครั้งอาจพบเหาฉลามขนาดเล็กที่ยังหาสัตว์อื่นเกาะไม่ได้ ว่ายน้ำอยู่อิสระใน[[แนวปะการัง]] สามารถแบ่งออกได้เป็น 8 [[genus|ชนิด]] ใน 4 [[genus|สกุล]] (ดูในตาราง)<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=168567 จาก itis.gov {{en}}]</ref>
[[ไฟล์:Remora_Belize_Reef.jpg|thumb|rightleft|ปลาเหาฉลามแสดงให้เห็นส่วนที่ใช้ยึดเกาะ]]
 
== การแพร่กระจาย ==
พบแพร่กระจายในเขตร้อนทั่วโลก จัดเป็นปลาเหาฉลามที่พบได้ง่าย และมีการแพร่กระจายกว้างที่สุด ในประเทศไทย พบได้ทั้งสองฝั่งทะเล แต่จะพบเห็นได้บ่อยบริเวณ[[หมู่เกาะสิมิลัน]] และกองหินลอเชลิว ซึ่งเป็นบริเวณที่พบปลาขนาดใหญ่ เช่น [[ฉลามวาฬ]] หรือ[[ปลากระเบนแมนตา|กระเบนราหู]] ฝั่ง[[อ่าวไทย]]พบบ้างบริเวณ[[เกาะเต่า]] จังหวัดสุราษฏร์ธานี