ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์ปลาเหาฉลาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
RedBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5.2) (โรบอต เพิ่ม: vi:Cá ép
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| image = spearfish remora.jpg
| image_width = 250px
| image_caption = [[ปลาติด]]
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
บรรทัด 10:
| subordo = [[Percoidei]]
| superfamilia = [[Percoidea]]
| familia = '''[[Echeneidae]]'''
| subdivision_ranks = [[genus|สกุล]]
| subdivision =
*''[[Echeneis (genus)|Echeneis]]''<br />
บรรทัด 17:
*''[[Remora (genus)|Remora]]''<br />
*''[[Remorina]]''<br />
| synonyms = *'''[[Echeneididae]]'''
ดูเพิ่มในบทความ
| synonyms = Echeneididae
}}
'''ปลาเหาฉลาม''' หรือ '''ปลาเหา''' หรือ '''ปลาเหาทะเล''' หรือ '''ปลาติด'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-19-search.asp ติด ๓ ตาม[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]]</ref> ({{lang-en|Sucker shark}}) เป็น[[ปลาทะเล]][[ปลากระดูกแข็ง|ปลากระดูกแข็ง]]ใน[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]] Echeneidae ใน[[อันดับปลากะพง]] (Perciformes)
'''ปลาเหาฉลาม''' เป็นปลาทะเลในวงศ์ Echeneidae
 
== ลักษณะทั่วไป ==
ลำตัวยาว หัวเรียวแหลม ดวงตาสามารถกลอกกลิ้งไปมาเพื่อชำลองมองได้โดยรอบ ด้านบนแบนราบมี[[อวัยวะ]]ที่ใช้สำหรับดูดติด ( sucking disc ) ซึ่งพัฒนามาจากครีบหลัง มีจำนวน 22-27 ซี่ มีความยาวประมาณ 1 ใน 4 ของความยาวลำตัว คอดหางเล็กแต่แข็งแรงทำให้ว่ายน้ำได้ดี ถึงแม้ว่าจะชอบเกาะติดไปกับปลาอื่นก้อตามมีแถบสีดำขนาดใหญ่พาดตามยาวลำตัว หลังและท้องมีสีเทาเข้มลักษณะคล้ายกับ[[ปลาช่อนทะเล]] ที่ชอบว่ายตามปลาขนาดใหญ่เช่นกันความแตกต่างของปลาสองชนิดนี้อยู่ตรงที่ด้านบนของหัวปลาช่อนทะเลไม่มีอวัยวะสำหรับดูดติด มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 60 [[เซนติเมตร]]
 
[[ไฟล์:Remora_Belize_Reef.jpg|thumb|right|ปลาเหาฉลามแสดงให้เห็นส่วนที่ใช้ยึดเกาะ]]
 
== นิเวศวิทยา ==
ชอบเกาะติดอยู่กับสัตว์ใหญ่ เช่น [[ปลาฉลาม]], [[ปลากระเบนแมนตา|กระเบนราหู]] หรือ[[เต่าทะเล]] โดยใช้อวัยวะสำหรับดูดติด ดังนั้นจึงมีแหล่งที่อยู่ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสัตว์ที่อาศัยเกาะอยู่ แต่บางครั้งอาจพบเหาฉลามขนาดเล็กที่ยังหาสัตว์อื่นเกาะไม่ได้ ว่ายน้ำอยู่อิสระในแนว[[แนวปะการัง]] สามารถแบ่งออกได้เป็น 8 [[genus|ชนิด]] ใน 4 [[genus|สกุล]] (ดูในตาราง)<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=168567 จาก itis.gov {{en}}]</ref>
 
== การแพร่กระจาย ==
พบแพร่กระจายในเขตร้อนทั่วโลก จัดเป็นปลาเหาฉลามที่พบได้ง่าย และมีการแพร่กระจายกว้างที่สุด ในประเทศไทย พบได้ทั้งสองฝั่งทะเล แต่จะพบเห็นได้บ่อยบริเวณ[[หมู่เกาะสิมิลัน]] และกองหินลอเชลิว ซึ่งเป็นบริเวณที่พบปลาขนาดใหญ่ เช่น [[ฉลามวาฬ]] หรือ[[ปลากระเบนแมนตา|กระเบนราหู]] ฝั่ง[[อ่าวไทย]]พบบ้างบริเวณ[[เกาะเต่า]] จังหวัดสุราษฏร์ธานี
 
== สถานภาพ ==
พบได้ไม่บ่อยนักไม่มีการใช้ประโยชน์ทางการทาง[[การประมง]] แต่ถูกจับขึ้นมาพร้อมกับปลาที่เกาะติด<ref>[http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-5580.html ปลาเหาฉลาม หรือปลาติด]</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
หนังสือปลาทะเลไทย
{{commonscat|Echeneidae}}
{{โครงสัตว์}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*[http://www.encyclopedia.com/doc/1O8-Echeneidae.html Echeneidae {{en}}]
{{wikispecies|Echeneidae}}
 
[[หมวดหมู่:ปลาน้ำเค็ม]]
[[หมวดหมู่:อันดับปลากะพง]]
[[หมวดหมู่:ปลาแบ่งตามวงศ์]]
 
[[af:Echeneidae]]