เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jinapattanah (คุย | ส่วนร่วม)
PandaReactor (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 799:
กำลังสนใจ classify ลัษณะของบทความคัดสรรคด้วยการใช้เทคนิคการ mining ซึ่งต้องเก็บข้อมูลการใช้งานของวิกิพีเดียไทย ที่มีลัษณะบทความคัดสรร และบทความที่มีข้อบกพร่อง ขอคำแนะนำเกี่ยวกับเครื่องมือที่ช่วยเก็บข้อมูลดังกล่าวด้วยคะ อย่างไรก็ตาม หากไม่เป็นการรบกวน ขอช่วยส่ง email ของผู้ดูแลระบบหรือผู้ที่สามารถให้คำแนะนำเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวให้ได้ ทาง email คือ jinapattanah at hotmail dot com ด้วยนะคะ จักเป็นพระคุณยิ่งคะ
[[ผู้ใช้:Jinapattanah|Jinapattanah]] ([[คุยกับผู้ใช้:Jinapattanah|พูดคุย]]) 01:05, 12 มีนาคม 2555 (ICT)
 
== เหตุใต หัวข้อ ลัทธิชาติมลาย จึงถูกลบ ==
 
 
อยากทราบว่า เหตุใต หัวข้อ ลัทธิชาติมลาย จึงถูกลบ เป็นสิ่งไม่จริงอย่างไร
 
ลัทธิชาติมลาย (อังกฤษ : Nation Disintegratism ) เป็นชุดความคิดของกลุ่มนักวิชาการที่สร้างขึ้น เพื่อชักจูงให้เชื่อว่า โลกไร้พรมแดน ไม่ให้ความสำคัญกับความเป็นชาติของตน และอาณาเขตดินแดนของชาติตนเอง และอาจมากจนกระทั่งถึงดูถูกเหยียดหยามความเป็นมาของชาติ ของบรรพบุรุษของตนเอง และกลุ่มคนเหล่านี้ จะให้ร้ายสถาบันพระมหากษัตริย์ อย่างบิดเบือน ด้วยอคติความเกลียดชัง
 
วาทะกรรม ของลัทธิชาติมลาย ก็คือ ประวัติศาสตร์หรือการยกย่องชาติตนเอง หรือการยกย่องสถาบันพระมหากษัตริย์ หรือความเป็นชาตินิยม เป็น มายาคติ หรือทรรศนะความเชื่ออันล้าหลังที่ถูกสร้างขึ้นเพื่่อให้เกลียดชัง ดูถูกชาติเพื่อนบ้าน เป็นเครื่องมือที่ชนชั้นปกครองใช้เพื่อหลอกลวงในการปกครองกดขี่่ประชาชน
 
ลัทธิชาติมลาย เกิดมาจากการตกเป็นทาสทางวิชาการของชาติที่มีความเจริญ ที่สร้างแนวคิดในสถานศึกษา เพื่อครอบงำนักนักศึกษาจากต่างชาติ ว่า โลกไร้ีพรมแดน เพื่อให้สะดวกและง่ายต่อการครอบงำช่วงชิงทรัพยากรของชาติที่ด้อยกว่า โดยอ้างความไร้พรมแดนของโลก เส้นพรมแดนเป็นเส้นที่มนุษย์สมมุติขึ้นมา การปกครองโดยกษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยเป็นสิ่งล้าหลังและละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เพื่อทำให้ความรู้สึกรักชาติ หรือความเป็นชาตินิยม ลดน้อยลง ทำให้ชาติที่เจริญกว่า สามารถเข้ามาแทรกแซงทั้งการเมือง สังคม เศรษฐกิจ สามารถช่วงชิงใช้ประโยชน์จากทรัพยากรของผู้ที่หลงเชื่อ ได้โดยง่ายปราศจากการต่อต้าน
[[ผู้ใช้:PandaReactor|PandaReactor]] ([[คุยกับผู้ใช้:PandaReactor|พูดคุย]]) 04:19, 12 มีนาคม 2555 (ICT)