ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิวัติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PandaReactor (คุย | ส่วนร่วม)
/* ตัวอย่างของการปฏิวัติทางการเมืองในประวัติศาสตร์ทางการเมืองโลกRichard Pipes, "A Concise History of the Russian Revolution,"...
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 4:
 
==นิยาม==
คำว่าปฎิวัติปฏิวัติในภาษาอังกฤษ มีรากศัพท์จากภาษาละตินคือ ''revolutio'' และ ''revolvere'' แปลว่าการหมุนรอบ หรือแปลได้อีกทางหนึ่งว่าการพลิกฟ้าควำ่แผ่นดินควำแผ่นดิน (to turn around) คำนี้มีใช้ทั่วไปในทาง[[สังคมศาสตร์]] แต่ก็มีใช้ในทางวิทยาศาสตร์เช่นกันเช่น[[การปฏิวัติวิทยาศาสตร์]] เป็นต้น<ref>Richard Pipes, "A Concise History of the Russian Revolution," Cited by http://chagala.com/russia/pipes.htm</ref>
 
สารานุกรมเมอร์เรียม-เวบสเตอร์ (Merriam-Webster Encyclopedia) อธิบายว่า การปฏิวัติในทางการเมืองนั้นคือการเปลี่ยนแปลงการตัดรูปแบบของการเมืองการปกครองในระดับฐานราก (fundamentally)<ref>http://www.merriam-webster.com/dictionary/revolution</ref> สารานุกรมบริทานิกา คอนไซส์ (Briyanica Concise Encyclopedia) อธิบายว่าการปฏิวัติในทางสังคมศาสตร์ และในทางการเมืองคือการกระทำ[[ความรุนแรง]]ต่อโครงสร้าง, ระบบ, สถาบัน ฯลฯ ทางสังคมการเมือง การปฏิวัติทางสังคมการเมืองจะเป็นการเปลี่ยนแปลงไปจากมาตรฐานต่างๆที่สังคมการเมืองเป็นอยู่เดิม เพิ่มจัดตั้ง หรือสถานามาตรฐานของสังคมการเมืองแบบใหม่ให้เกิดขึ้น<ref>http://www.britannica.com/EBchecked/topic/500584/revolution</ref>
บรรทัด 14:
==ตัวอย่างของการปฏิวัติทางการเมืองในประวัติศาสตร์ทางการเมืองโลก<ref>Richard Pipes, "A Concise History of the Russian Revolution," Cited by http://chagala.com/russia/pipes.htm</ref>==
* คำว่าปฏิวัติถูกใช้ครั้งแรกในอังกฤษ ค.ศ. 1688 - 89 เพื่ออธิบายการที่กษัตริย์เจมส์ที่ 2 ถูกยึดอำนาจ ศัพท์ในทางสังคมศาสตร์เรียกเหตุการณ์นี้ว่า [[การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์]] (The Glorious Revolution) การปฏิวัติครั้งนี้ทำให้อำนาจสมบูรณ์ของกษตริย์อังกฤษถูกถ่ายโอนมาสู่สภา
* ในศตวรรที่ 18 ในประเทศอเมริกาเกิด[[การปฏิวัติอเมริกา]] (The American Revolution) ซึ่งเป็นการปฎิวััติปฏิวัติประเทศอเมริกาให้ปกครองตนเองแและแยกออกจากการปกครองของอังกฤษ
* ใน ค.ศ. 1789 เกิด[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]] (The French Revolution) เมื่อปัญญาชน และประชาชนนำโดยโรแบร์สปิแอร์ (Maximilien de Robespierre) ปฏิวัติการปกครองของกษัตริย์หลุยส์ที่ 16 (Louise XVI) การปฏิวัติครั้งนี้มักถูกยกย่องว่าเป็นการปฏิวัติประชาธิปไตยครั้งแรก รวมถึงเป็นการปฎิวัติปฏิวัติครั้งแรกของโลกสมัยใหม่ด้วย
* ในศตวรรษที่ 19 การแพร่กระจายของลัทธิคอมมิวนิสม์ (Communism) ทำให้ประเทศจำนวนมากเกิดการปฏิวัติการปกครองโดยประชาชน (People Revolution) ขึ้นจำนวนมาก โดยเฉพาะในประเทศที่ต้องการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นสังคมนิยม/คอมมิวนิสม์
 
สำหรับในสังคมการเมืองไทยเกิดการปฏิวัติทางการเมืองขึ้นเพียงครั้งเดียวคือ [[การปฏิวัติสยาม]] ในวันที่24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เป็นการปฏิวัติการปกครองโดยเปลี่ยนระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monachy) กลายเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (Constitutional Monarchy) ส่วนการล้มล้างรัฐบาลในครั้งต่อมานั้นเป็นเพียงการรัฐประหาร เพราะไม่ได้ต้องการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง ทว่าเป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล ผู้นำของรัฐบาล หรือเป็นการยืดอายุของรัฐบาลอุปถัมป์อำนาจนิยม (Suzerain-Authoritarianism) ของสังคมไทยเพียงเท่านั้น<ref>พิสิษฐิกุล แก้วงาม. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาสหวิทยาการสังคมศาสตร์ (มธ 120) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.</ref>
 
แต่ในความเห็นอีกด้านหนึ่ง กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงการปกครอง วันที่24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เป็นการปฏิวัติรัฐประหาร เพราะเปลี่ยนระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monachy) กลายเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (Constitutional Monarchy) อันเป็นการปฏิวัติ แต่ก็เป็นการ[[รัฐประหาร]] (ฝรั่งเศส: coup d'état กูเดตา) ด้วย เพราะใช้กำลังทหาร ในการควบคุม บังคับ ทำให้อำนาจรัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวสิ้นสุดลง แต่กลุ่มการเมืองฝ่ายต่อต้านระบอบกษัตริย์ พยายามสร้างภาพให้เป็นเชิงบวก ว่าเป็นการปฎิวัติปฏิวัติ หรืออภิวัฒน์ จนเรียกว่า สยามภิวัฒน์ ทั้งที่เป็นการรัฐประหารด้วยเช่นกัน
 
== อ้างอิง ==