ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษากะเหรี่ยง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
* ภาษากะเหรี่ยงยินตาเล (Yintale Karen; ISO 639-3: kvy) หรือภาษาตาเลียก ภาษายางาตาเลต มีผู้พูดทั้งหมด 10,000 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐกะยา ประเทศพม่า
* ภาษากะเหรี่ยงยินเบา (Yinbaw Karen; ISO 639-3: kvu) มีผู้พูดทั้งหมด 7,300 คน (พ.ศ. 2546) ในบริเวณที่ราบสูงทางตะวันออกของ[[รัฐฉาน]] ประเทศพม่า
* ภาษากะเหรี่ยงเบรก (Brek Karen; ISO 639-3: kvl) มีผู้พูดทั้งหมด 16,600 คน (พ.ศ. 2526) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐกะยา เขียนด้วยอักษรละติน
* ภาษากะเหรี่ยงเฆบา (Geba Karen; ISO 639-3: kvq) หรือภาษากะเหรี่ยงขาว มีผู้พูดทั้งหมด 10,000 คน (พ.ศ. 2543) ในทางตอนเหนือของรัฐกะเหรี่ยงและทางใต้ของรัฐฉาน เขียนด้วยอักษรละตินหรืออักษรพม่า
* ภาษากะเหรี่ยงซายีน (Zayein Karen; ISO 639-3: kxk) มีผู้พูดทั้งหมด 9,300 คน (พ.ศ. 2526) ทางใต้ของรัฐฉาน
== การเขียน ==
อักษรที่ใช้เขียนภาษากะเหรี่ยงมี 3 แบบด้วยกันดังนี้<ref>โยเซฟ เซกีมอต. พจนานุกรมปกาเกอะญอ-ไทย-ฝรั่งเศส-อังกฤษ. กทม. หน้าต่างสู่โลกกว้าง. 2549</ref>