ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โมดูลัสของแรงบีบอัด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
เมื่อ ''P'' คือความดันและ ''V'' คือปริมาตร
 
บัลก์ มอดุลัสจึงวัดการตอบสนองต่อความดันด้วยการเปลี่ยนแปลงปริมาตรสัมพัทธ์ ซึ่งจำเป็นในการวัดความต้านทานของวัตถุที่มีต่อการบีบอัดอย่างสม่ำเสมอ ยังมีค่ามอดุลัสอื่น ๆ ใช้บรรยายการตอบสนองของวัสดุ ([[ความเครียด]]) ต่อ [[ความเค้น (ฟิสิกส์)|ความเค้น]] ประเภทอื่น เช่น [[มอโมดูลัสของแรงเฉือน]] บรรยายการสนองต่อความเฉือน และ [[มอดุลัสของยัง]] บรรยายการตอบสนองต่อการดึงเชิงเส้น สำหรับของไหลแล้ว บัลก์ มอดุลัสเป็นมอดุลัสอย่างเดียวที่มีความหาย ส่วนกรณีของของแข็งแบบ [[anisotropic]] เช่น [[ไม้]] หรือ [[กระดาษ]] มอดุลัสทั้งสามอย่างนี้ไม่มีข้อมูลเพียงพอที่จะบรรยายพฤติกรรมของมัน และยังต้องใช้ [[กฎของฮุค]] แบบ full generalized
 
หากกล่าวโดยชัดเจนแล้ว บัลก์ มอดุลัสเป็นปริมาณทาง [[เทอร์โมไดนามิกส์]] และมันจำเป็นในการระบุว่าอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงอย่างไรในการระบุค่าบัลก์ มอดุลัส กล่าวคือ ต้องกำหนด [[อุณหภูมิ]] คงที่ (<math>K_T</math>), [[เอนทาลปี]] คงที่ ([[อะเดียบาติก]] <math>K_S</math>) หรือตัวแปรอื่น ๆ ที่เป็นไปได้ ในทางปฏิบัติแล้ว ความแตกต่างจะมีความหมายสำหรับแก๊สเท่านั้น
บรรทัด 28:
:''P'' คือ [[ความดัน]]
 
ค่า adiabatic bulk modulus จะควบคุม [[อัตราเร็วเสียง]] (สำหรับคลื่นความดัน) ในวัสดุ ของแข็งสามารถส่งผ่าน [[คลื่นตามขวาง]] ได้ โดยกรณีนั้นค่า [[มอโมดูลัสของแรงเฉือน]] จะเป็นตัวการหลักในการอธิบาย
 
== ตัวอย่าง ==