ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระจก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ตัวหนาพร่ำเพรื่อ ใช้ลิงก์ภายใน
บรรทัด 1:
'''กระจก''' เป็นคำที่ใช้เรียกวัสดุที่ทำมาจาก[[แก้ว]] โดยมีองค์ประกอบทางเคมีคือ Silicon (ดู http://th.wikipedia.org/wiki/[[ซิลิคอน)]] ซึ่งสามารถหลอมและนำไป'''ขึ้นรูป'''ได้ เมื่อเย็นตัวแล้วมีลักษณะ โปร่งใส และ เป็น[[ของแข็ง]]โดยไม่จับผลึก (เป็นของแข็งได้โดยมี'''[[ค่าความหยัดตัว''']]สูง) กระจกจึง'''สามารถแตก'''ได้เหมือนแก้ว และ เมื่อแตกจะสามารถมีความคมได้มากกว่าแก้วเมื่อแตกเพราะมีความบางในการผลิต
 
ความแตกต่างในการใช้คำเมื่อเทียบกับคำว่าแก้วคือ กระจกจะใช้เรียกแก้วที่นำมาทำให้เป็นแผ่น โดยมีลักษณะแบนราบและมีความหนาประมาณหนึ่งเป็นส่วนใหญ่
 
กระจกเป็นลักษณะการผลิตวัสดุประเภทแก้วที่ทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการใช้งานต่างๆ เช่น เพื่อเป็นวัสดุกั้นขวางที่ไม่ทึบแสง ใช้เพื่อเป็นฉนวนกั้น ใช้เพื่อประดับตบแต่งอาคาร ฯลฯ ในบางความต้องการใช้ กระจกถูกนำไปปรับคุณสมบัติต่อเพื่อให้มีคุณลักษณะบางอย่าง เช่น ฉาบปรอทที่ด้านๆหนึ่งเพื่อให้มีคุณสมบัติสะท้อนแสงเรียกว่า ''''[[กระจกเงา'''']] หรือผสมสารชนิดอื่นลงไปในเนื้อสารให้มีสีสันหรือความทึบแสงบางส่วนหรือทั้งหมดเรียกว่า ''''กระจกสี'''' หรือ ''''กระจกทึบ'''' หรือ ''''กระจกควัน'''' หรือนำไปพ่นทรายลงบนพื้นผิวเพื่อให้เกิดความไม่สม่ำเสมอของความเรียบบนผิวทำให้แสงผ่านได้แต่มีลักษณะมัวๆเรียกว่า ''''กระจกฝ้า''''
 
เนื่องจากกระจกคือวัสดุประเภทแก้วซึ่งมีความโปร่งใสมากและยังมีค่าดัชนีหักเหของแสงที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ จึงมีการนำไปสร้างเป็นวัสดุที่มีความหนาไม่สม่ำเสมอแต่มีลักษณะเฉพาะ เรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า ''''[[เลนส์'''']] (Lens ดู http://th.wikipedia.org/wiki/เลนส์ http://en.wikipedia.org/wiki/Lens_(optics)lens) เช่น มีสัณฐานกลมเหมือนเหรียญที่เว้าเข้าตรงกลางทั้งสองด้านเรียกว่า ''''เลนส์เว้า'''' หรือเว้าเข้าด้านเดียวอีกด้านหนึ่งแบนราบและฉาบปรอทมักเรียกว่า ''''กระจกเว้า'''' มีสัณฐานกลมเหมือนเหรียญที่ป่องออกตรงกลางทั้งสองด้านเรียกว่า ''''เลนส์นูน'''' หรือนูนออกด้านเดียวอีกด้านหนึ่งแบนราบและฉาบปรอทมักเรียกว่า ''''กระจกนูน'''' ซึ่งเลนส์คือประเภทการผลิตวัสดุประเภทแก้วในรูปแบบของกระจกเพื่อการใช้งานในลักษณะของการหักเหแสงนั่นเอง
 
กระจกบางประเภทถูกนำไปประกอบสร้างแบบพิเศษ เช่น เคลือบเนื้อสารบางประเภทเช่นพลาสติกด้านเดียวหรือทั้งสองด้าน (เนื้อสารที่นำมาเคลือบเรียกว่า '[[ฟิล์ม']]) เพื่อให้ทึบแสงหรือเพื่อให้ไม่แตกร่วนหรือเพื่อให้เมื่อแตกแล้วไม่มีความคมคล้ายเมล็ดข้าวโพด เช่น '''[[กระจกรถยนต์''' ]] ฟิล์มบางประเภทที่นำมาเคลือบ เช่น [[เคฟลาร์ (ดู http://en.wikipedia.org/wiki/Kevlar)]] มีลักษณะทางโครงสร้างเคมีที่สามารถกระจายแรงที่มากระทบด้านหน้าออกไปทางด้านข้างได้ จึงทำให้สามารถผลิตเป็น '''[[กระจกนิรภัย''']] ที่สามารถทนทานต่อแรงกระแทกได้ และในบางกรณีการผลิตแบบเคลือบด้านนอก อาจปรับเป็นการผลิตแบบสอดใส้ข้างใน หรือ ผสมลงไปเป็นเนื้อเดียวกัน
 
ในบางกรณีกระจกอาจสร้างจากวัสดุที่มี'''[[ความใส''']]ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันกับแก้วแต่เป็นวัสดุประเภทอื่นไปเลย แต่ไม่ว่าอย่างไรก็ตามกระจกจะมีความหมายในลักษณะ ใส บาง เป็นแผ่น มีผิวราบเรียบอย่างมาก อาจหมายรวมไปถึง สะท้อนแสงได้ รวมหรือเบี่ยงเบนแสงได้ หรือ เป็นเงา เสมอๆ
 
ความหมายโดยปริยายของกระจก มักจะหมายถึง '''[[กระจกเงา''']] ถ้าพูดโดยไม่ระบุว่าเป็น '''กระจกใส''' เช่นในประโยคว่า "ส่องกระจกชะโงกดูเงา" หรือ "น้ำใสราวกับกระจก" (ส่องลงไปเห็นใบหน้าได้)
วัสดุประเภทกระจกนั้น หากมีค่าความยอมให้ผ่านของแสงมากจะเรียกว่า 'โปร่งใส' หากมีค่าน้อยจะเรียกว่า 'โปร่งแสง' และหากไม่มีค่าเลยจะเรียกว่า 'ทึบแสง'
 
ความหมายโดยปริยายของกระจก มักจะหมายถึง '''กระจกเงา''' ถ้าพูดโดยไม่ระบุว่าเป็น '''กระจกใส''' เช่นในประโยคว่า "ส่องกระจกชะโงกดูเงา" หรือ "น้ำใสราวกับกระจก" (ส่องลงไปเห็นใบหน้าได้)
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กระจก"