ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไพศาล พืชมงคล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Autchariyak (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
นายไพศาล พืชมงคล
{{เพิ่มอ้างอิง}}
[[ไฟล์:ไพศาลพืชมงคล.jpg|thumb|ไพศาล พืชมงคล]]
'''ไพศาล พืชมงคล''' ([[9 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2490]]<ref>สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, [http://www.senate.go.th/w3c/senate/senator.php?url=profile&HR_ID=1343 ประวัติและผลงานของสมาชิกวุฒิสภา: นายไพศาล พืชมงคล].</ref> — ) เป็นนักกฎหมายชาวไทย อดีตสมาชิกวุฒิสภาและอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติ
 
เกิดที่บ้านริมคลองระโนด อ.ระโนด จ.สงขลา ในครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีนฮกเกี้ยน เป็นลูกชายคนโต ในจำนวนพี่น้อง7 คน เป็นศิษย์พ่อท่านพลับ (พระครูบรรหารศาสนกิจ) วัดระโนด ได้รับการถ่ายทอดวิชาอาคมมากกว่าศิษย์ทุกรุ่น ไพศาลจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนธัญญะเจริญ จบชั้นมัธยมศึกษาชั้น ม.ศ.2 จากโรงเรียนระโนดวิทยา จบ ม.ศ.3 จากโรงเรียนวัดมกุฎกษัตริย์ และจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้น ม.ศ.4-5 จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพญาไท จบชั้นอุดมศึกษาจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นนิติ 2509 โดยสอบได้คะแนนค่อนข้างสูงในแทบทุกวิชา เฉพาะประมวลกฏหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ซึ่งเป็นวิชาที่จะวัดความสามารถของนักกฏหมายนั้น ไพศาลสอบได้คะแนนระดับท็อปของคณะ และสำเร็จเป็นเนติบัณฑิตในปีที่ได้รับพระราชทานปริญญาบัตรนั้น
== ประวัติ ==
ไพศาลเกิดที่[[อำเภอระโนด]] [[จังหวัดสงขลา]] ในครอบครัวเชื้อสาย[[ชาวฮกเกี้ยน|จีนฮกเกี้ยน]] เป็นบุตรชายคนโตในจำนวนพี่น้อง 7 คน {{cn-span|ศึกษาจบชั้น[[มัธยมศึกษา]]ปีที่ 3 จาก[[โรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์]]}} แล้วสอบเข้าศึกษาต่อที่[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]]<ref>สมาคมนักเรียนเก่าเตรียมอุดมศึกษา ในพระบรมราชูปถัมภ์, [http://triamudom-alumni.com/default/profile.html?id=20981 นายไพศาล พืชมงคล รุ่น 27].</ref> และ[[คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ตามลำดับ
 
ในขณะเรียนที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ไพศาลได้รับรางวัลแชมป์[[หมากฮอส]]ในการแข่งขันกีฬาสีของโรงเรียน และในระหว่างศึกษาเรียนที่มหาวิทยาลัยมหาลัยธรรมศาสตร์ ไพศาลเป็นโฆษกพรรคเสรีตราชูของนักศึกษา และเป็นแชมป์หมากฮอส 5 มหาวิทยาลัย ได้รับประทานรางวัลชนะเลิศ จากเสด็จใน[[กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]] และได้แต่งตำราหมากฮอสฉบับมาตรฐาน เป็นครั้งแรก และเป็นที่นิยมมาจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งได้เป็นครูฝึกสอนหมากฮอสให้แก่กับชมรมกีฬาในร่ม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่หลายปี
 
== การทำงาน ==
ไพศาลเริ่มเข้าทำงานที่บริษัทสากลสถาปัตย์ของเกียรติ วัธนเวคิน ตั้งแต่ศึกษาอยู่ในชั้นปีที่ 4 ในเวลาต่อมา พ.ศ. 2516 ไพศาลย้ายไปทำงานที่สำนักงานทนายความธรรมนิติของประดิษฐ์ เปรมโยธิน และได้รับช่วงดำเนินงานต่อ ในระหว่างที่ทำงานในธรรมนิติ ไพศาลได้นำรูปแบบของบริษัทจำกัดเข้ามาใช้กับสำนักงานธรรมนิติ ซึ่งให้ทนายความประจำสำนักงานมีเงินเดือนประจำ แทนที่ได้จากส่วนแบ่งจากการว่าความตามธรรมเนียมเดิม ในระหว่างนั้น ไพศาลเคยเป็นแกนนำเดินขบวนคัดค้านการขึ้นค่ารถเมล์ในสมัยรัฐบาลถนอม กิตติขจร เคยเข้าร่วมในการชุมนุมต่อต้าน "กฎหมายโบดำ"<ref>"กฎหมายโบดำ" หมายถึง กฎหมายที่รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร จะออกใช้เพื่อครอบงำอำนาจตุลาการ เนื่องจากอำนาจตุลาการเป็นอิสระจากรัฐบาล ซึ่งหลวงจำรูญเนติศาสตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมขณะนั้น เป็นผู้เสนอกฎหมายนี้ และนักศึกษาของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ได้เล็งเห็นถึงปัญหา จึงทำให้เกิดการชุมนุมประท้วงทั้งวันทั้งคืนเป็นเวลา 3 วัน รัฐบาลก็ยอมถอนร่างกฎหมายนี้</ref> และเคยเป็นหนึ่งในผู้ชุมนุมเดินขบวนใน[[เหตุการณ์ 14 ตุลา]]
 
เริ่มต้นชีวิตทำงานที่บริษัทสากลสถาปัตย์ ของนายเกียรติ วัฒนเวคิน ในขณะที่กำลังศึกษากฎหมายปีที่ 4 ได้รู้จักและฝากตัวเป็นศิษย์นายบุศย์ ขันธวิทย์ อดีตอธิบดีผู้พิพากษาภาค ได้รับถ่ายทอดวิชาและเชิงว่าความจากท่านบุศย์ ขันธวิทย์ มากที่สุด จนได้ชื่อว่าเป็นศิษย์เอก ต่อมาได้เขียนหนังสือชื่อ "ว่าด้วยการสืบพยาน“ ซึ่งเป็นหลักปฏิบัติในการประกอบอาชีพของทนายความ ในปี 2516 ไพศาลได้เข้าทำงานกับสำนักงานกฎหมายธรรมนิติ ของประดิษฐ์ เปรมโยธิน และได้รับช่วงดำเนินงานต่อ จากนั้นได้ปรับปรุงการบริหารสำนักงานกฎหมายด้วยการนำเอารูปแบบบริษัทเข้ามาจัดการ ขยายงานด้านบัญชี การอบรมสัมนา และสำนักพิมพ์
หลัง[[เหตุการณ์ 6 ตุลา]] ไพศาลยังคงเคลื่อนไหวในเมือง รับช่วงงานจาก[[ทองใบ ทองเปาด์]]{{อ้างอิง}} ซึ่งหลบหนีการปราบปรามไปเข้าร่วมการต่อสู้กับ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย]] โดยได้รับเป็นทนายความให้แก่คณะนักศึกษาและประชาชนที่ถูกกล่าวหาว่าเป็น[[คอมมิวนิสต์]] ต่อมาได้รับเชิญจากคณะกรรมการทหารภาคอีสานขึ้นไปเยี่ยมฐานที่มั่น พร้อมกับคณะอีกหลายคนที่พื้นที่[[กาฬสินธุ์]] เมื่อ พ.ศ. 2520
ไพศาล เริ่มต้นชีวิตทางการเมือง ในระหว่างเป็นนักศึกษา เป็นแกนนำเดินขบวนคัดค้านการขึ้นค่ารถเมล์ในสมัยรัฐบาลถนอม กิตติขจร เคยเข้าร่วมในการชุมนุมต่อต้านกฎหมายโบว์ดำที่เสนอโดยหลวงจำรูญเนติศาสตร์ รัฐมนตรีว่าการยุติธรรม และเคยเป็นหนึ่งในผู้ชุมนุมเดินขบวนในเหตุการณ์ 14 ตุลา หลังเหตุการณ์นี้แล้วก็ได้สนับสนุนให้ศิลปินกลุ่มหนึ่งจัดตั้งวงดนตรีคนจนเพื่อเคลื่อนไหวกรรมกร เป็นผู้แต่งเพลงให้กับวงดนตรีคนจนหลายเพลง เช่นเพลงศักดิ์ศรีกรรมกร โดยนำเอาทำนองเพลงไทยเดิมมาเป็นทำนองเพลงปลุกเร้าใจกรรมกร ซึ่งวงการผู้ใช้แรงงานได้ใช้เป็นเพลงร้องประจำตลอดมาจนบัดนี้
หลัง[[เหตุการณ์ 6 ตุลา]] ผู้ปฏิบัติงานวงดนตรีคนจนได้หลบหนีการปราบปราม เข้าป่า ไปเข้าร่วมการต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย และหลายคนเสียชีวิตในการต่อสู้ ส่วนไพศาลยังคงเคลื่อนไหวในเมือง รับช่วงงานจาก[[ทองใบ ทองเปาด์]]{{อ้างอิง}} ซึ่งหลบหนีการปราบปรามไปเข้าร่วมการต่อสู้กับ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย]]ป่าเช่นเดียวกัน โดยได้รับเป็นทนายความให้แก่กับคณะนักศึกษาและประชาชนที่ถูกกล่าวหาว่าเป็น[[คอมมิวนิสต์]] ต่อมาได้รับเชิญจากคณะกรรมการทหารภาคอีสานขึ้นไปเยี่ยมฐานที่มั่น พร้อมกับคณะอีกหลายคนที่พื้นที่[[กาฬสินธุ์]] เมื่อได้พบและรู้จักกับลุงวัฒนา พ.ศ.และลุงสยาม ในการเยี่ยมฐานที่มั่นครั้งนั้นด้วย 2520
ไพศาล พืชมงคล เคยว่าความในคดีความสำคัญเช่น คดียึดธนาคารแหลมทอง คดีสำคัญที่สร้างชื่อเสียงให้กับไพศาล คือ การรับเป็นทนายความให้กับคณะทหารในคดีกบฏเมษาฮาวาย และให้กับนายสุภาพ พัตรอ๋อง ผู้นำกรรมกรอ้อมน้อย ในคดีที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ ได้เข้าสู่ตำแหน่งที่เกี่ยวกับการเมืองครั้งแรกด้วยการเป็นคณะผู้บอร์ดบริหาร[[องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย]] (อ.ส.ม.ท.) ในปี พ.ศ. 2531 หลังจากนั้นก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นคณะผู้บริหารบอร์ดรัฐวิสาหกิจอีกหลายแห่งต่อเนื่องมาอีกหลายปี
 
ไพศาล เคยเป็นที่ปรึกษาให้กับดำรง ลัทธพิพัฒน์, พิชัย รัตตกุล, บุญชู โรจนเสถียร และเคยเป็น 1 ใน 5 คน ที่ได้รับมอบหมายให้ยกร่างนโยบายรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ สมัยแรก โดยมีนายพร สิทธิอำนวย เป็นหัวหน้าคณะ
ไพศาลเคยว่าความในคดีความสำคัญเช่น คดียึด[[ธนาคารแหลมทอง]] การรับเป็นทนายความให้แก่คณะทหารในคดี[[กบฏเมษาฮาวาย]] และให้แก่นายสุภาพ พัตรอ๋อง ผู้นำกรรมกรอ้อมน้อย ในคดีที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ {{cn-span|ในปี พ.ศ. 2529 [[กองบัญชาการทหารสูงสุด]]ได้มอบหมายให้เป็นหนึ่งในเจ็ดคนของคณะทำงานยกร่างหลัก สูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ ร่วมเอกชน (ปรอ.) และได้เข้าเรียนใน[[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]] หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน ในรุ่นที่ 2 (วปอ. 32)}}
 
ไพศาล เคยเป็นที่ปรึกษาของผู้บัญชาการทหารบกและทหารสูงสุด พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ
ไพศาลได้เข้าสู่ตำแหน่งที่เกี่ยวกับการเมืองครั้งแรกด้วยการเป็นคณะผู้บริหาร[[องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย]] (อ.ส.ม.ท.) ในปี พ.ศ. 2531 หลังจากนั้นก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นคณะผู้บริหารรัฐวิสาหกิจอีกหลายแห่งต่อเนื่องมาอีกหลายปี
ต่อมาได้ร่วมงานกับพลเอก[[ชวลิต ยงใจยุทธ]]โดยเป็นที่ปรึกษากฎหมายวิโรจน์ แสงสนิท และพลเอก มงคล อัมพรพิสิษฐ์ และได้รับแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาโครงการ C3I โครงการน้ำพระทัยจากในหลวง{{อ้างอิง}} เพื่อพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นที่ปรึกษาในคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ ได้รับการแต่งตั้งเป็น[[สมาชิกวุฒิสภา]] (ดำรงตำแหน่ง 22 มี.ค. 2539 - 21 มี.ค. 2543)
 
ไพศาลเคยว่าความในคดีความสำคัญเช่น คดียึด[[ธนาคารแหลมทอง]] การรับเป็นทนายความให้แก่คณะทหารในคดี[[กบฏเมษาฮาวาย]] และให้แก่นายสุภาพ พัตรอ๋อง ผู้นำกรรมกรอ้อมน้อย ในคดีที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ {{cn-span|ในปี พ.ศ. 2529 [[กองบัญชาการทหารสูงสุด]]ได้มอบหมายให้เป็นหนึ่งในเจ็ดคนของคณะทำงานยกร่างหลัก สูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ ร่วมเอกชน (ปรอ.) และได้เข้าเรียนใน[[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]] หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน ในรุ่นที่ 2 (วปอ. 32)}}
ต่อมาได้ร่วมงานกับพลเอก[[ชวลิต ยงใจยุทธ]]โดยเป็นที่ปรึกษากฎหมาย ได้รับแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาโครงการ C3I โครงการน้ำพระทัยจากในหลวง{{อ้างอิง}} เพื่อพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นที่ปรึกษาในคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ ได้รับการแต่งตั้งเป็น[[สมาชิกวุฒิสภา]] (ดำรงตำแหน่ง 22 มี.ค. 2539 - 21 มี.ค. 2543)
 
ไพศาลยังเป็นกรรมการในคณะกรรมการวิชาชีพการแพทย์แผนไทย{{อ้างอิง}} และเป็นกรรมการในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ{{อ้างอิง}}ด้วย ในทางสังคมและเศรษฐกิจ มีตำแหน่งเป็น เลขาธิการสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน<ref>สมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน, [http://www.thaizhong.org/images/stories/pdf/P2.pdf ประกาศที่ ๒/๒๕๕๐ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน].</ref>
ในทางสังคมและเศรษฐกิจ มีตำแหน่งเป็น เลขาธิการสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีนและเป็นหนึ่งในคณะกรรมการกระชับความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ไทย-จีน ของรัฐบาลหลายสมัย
 
== ชีวิตส่วนตัว ==
หลังร่วมงานกับพลเอกชวลิตแล้ว ไพศาลได้ร่วมงานกับกลุ่ม[[เอเอสทีวีผู้จัดการ|ผู้จัดการ]] โดยเรียบเรียงหนังสือ "สามก๊ก ฉบับคนขายชาติ" (ใช้นามปากกา "เรืองวิทยาคม") และเขียนคอลัมน์ "ข้างประชาราษฎร์" (ใช้นามปากกา "สิริอัญญา" {{cn-span|อันเป็นนามของภรรยา}}) ผลงานนี้ทำให้ไพศาลได้รับประทานรางวัลนักเขียนบทความดีเด่นประจำปี 2552 จาก[[หม่อมเจ้าหญิงกรณิกา จิตรพงศ์]] พระธิดาใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]]
 
ชีวิตส่วนตัวสมรสแล้ว มีบุตร 2 คน ยามว่างชอบอ่านหนังสือ เล่นหมากฮอส หมากรุก ปลูกต้นไม้ และศึกษาพระพุทธศาสนา และวิชาการต่าง ๆ หลายแขนง เช่นดาราศาสตร์ โหราศาสตร์ ไสยศาสตร์ ภูมิประวัติศาสตร์ พลังจักรวาล การแพทย์แผนไทย รวมทั้งนิรุกติศาสตร์ มีความชำนาญในการแต่งโคลง กาพย์ ฉันท์ กลอน เขียนบทละคร ลิเก เพลงบอก ได้ด้วย
จนกระทั่ง[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|เหตุการณ์รัฐประหารเมื่อคืนวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549]] ไพศาลถูกเรียกตัวโดย[[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] เพื่อทำหน้าที่ร่างประกาศของคณะ พร้อมกับ[[มีชัย ฤชุพันธุ์]] และต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นสมาชิก[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] (ดำรงตำแหน่ง 12 ต.ค. 2549 - 2 มี.ค. 2551)
 
นายไพศาลมีความสนใจทางพระพุทธศาสนาอย่างมาก ได้เขียนงานเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาหลายเรื่อง เช่น ประทีปธรรม ศิษย์สมเด็จ จิตจรจัด อาหาเรปฏิกูลสัญญา เป็นต้น เรื่องที่ได้รับการยอมรับนับถือมากที่สุดคือวิมุตตะมิติ มหัศจรรย์แห่งโลกภายใน ซึ่งเดิมลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในหนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน ต่อมาได้รวบรวมพิมพ์เป็นเล่มเผยแพร่ถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวครองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี โดยได้รับพระกรุณาจากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงตรวจทาน ทรงอนุโมทนา และประทานพระวรธรรมคติ ลงพิมพ์ในหนังสือนั้นด้วย
หลังจากนี้ก็ได้กลับไปร่วมงานกับกลุ่มผู้จัดการ ภายหลังออกมาร่วมงานกับบริษัท ประชาราษฎร์ จำกัด โดยทำหน้าที่เป็นนักเขียนบทความและบรรณาธิการเรื่องโหราศาสตร์ ให้แก่เว็บไซต์ ไพศาลวิชัน.คอม
 
หนังสือที่ชอบอ่าน คือ เรื่อง สามก๊ก พิชัยสงคราม และวรรณคดี ตลอดจนพงศาวดารและจดหมายเหตุทุกประเภท รวมทั้งคำพิพากษาศาลฎีกาเก่า ๆ
ชีวิตส่วนตัวสมรสแล้ว มีบุตร 2 คน ยามว่างชอบอ่านหนังสือ เล่นหมากฮอส หมากรุก ปลูกต้นไม้ และศึกษาพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ ไพศาลก็สนใจในวิชาโหราศาสตร์ เคยเขียนพยากรณ์สงกรานต์ให้แก่หนังสือพิมพ์ผู้จัดการอยู่หลายปี
 
== ผลงานหนังสือเขียน ==
<!--เรียงตามปี-->
* ไพศาล พืชมงคล. ''แนวการเดินหมากฮอส''. กรุงเทพฯ : เกษมบรรณกิจ, 2528. (พิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2513)
* ไพศาล พืชมงคล. ''ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากับความมั่นคงของชาติ''. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, 2533.
* ไพศาล พืชมงคล. ''ว่าด้วยการสืบพยาน''. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ธรรมนิติ, 2536. ISBN 974-8000-51-6 (พิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2531)
* สิริอัญญา. ''เหลียวหลังแลธรรม''. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : วันชนะ, 2543. ISBN 974-85779-0-2
* ไพศาล พืชมงคล. ''อายุวัฒนะ''. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : วันชนะ, 2545. ISBN 974-90796-0-4 (พิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2545)
* เรืองวิทยาคม. ''สามก๊ก ฉบับคนขายชาติ''. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บ้านพระอาทิตย์, 2546.
** ''เล่ม 1''. ISBN 974-91338-5-4
** ''เล่ม 2''. ISBN 974-91389-2-9
** ''เล่ม 3''. ISBN 974-91389-3-7
** ''เล่ม 4''. ISBN 974-91389-4-5
** ''เล่ม 5''. ISBN 974-91389-5-3
** ''เล่ม 6''. ISBN 974-91389-6-1
* เรืองวิทยาคม. ''ศิษย์สมเด็จ''. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : มูลนิธิธรรมนิติ, 2551. ISBN 978-974-7532-85-2
* สิริอัญญา. ''วิมุตตะมิติ มหัศจรรย์แห่งโลกภายใน''. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : Oh My God, 2553. ISBN 978-616-90656-0-9 (พิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2549)
 
ไพศาล ได้แต่งหนังสือ สามก๊กฉบับคนขายชาติ เป็นส่วนหนึ่งของการต่อสู้กับรัฐบาลคณะหนึ่ง โดยใช้นามปากกาว่า เรืองวิทยาคม ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในหนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน ตั้งแต่ปี 2541 ต่อเนื่องมาเกือบ 3 ปี โดยได้รับการสนับสนุนข้อมูลจากหน่วยงานของรัฐบาลจีน และต่อมาได้รวมพิมพ์เป็นเล่ม รวม 6 เล่ม นับเป็นหนังสือสามก๊กที่ยาวที่สุดและสมบูรณ์ที่สุด ไพศาล ยังเป็นนักเขียนบทความ ใช้นามปากกาหลายนาม แต่ที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ “สิริอัญญา” ที่ใช้ในการเขียนบทความในหนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน ซึ่งได้รับประทานรางวัลนักเขียนบทความดีเด่นประจำปี 2552 จากหม่อมเจ้าหญิงกรณิกา จิตรพงศ์ พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* ศูนย์ข้อมูลนักการเมือง, [http://www.thaiswatch.com/politician/info/pid/POL0000000191 นายไพศาล พืชมงคล].
{{จบอ้างอิง}}
 
== ปฏิวัติ 19 กันยา ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.paisalvision.com ไพศาลวิชัน]
* [http://twitter.com/#!/paisalvision ทวิตเตอร์ของไพศาล พืชมงคล]
* [http://www.facebook.com/pages/PaisalVision/141265875885541 เฟซบุ๊กของไพศาล พืชมงคล]
 
ในเหตุการณ์รัฐประหารเมื่อคืนวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 หลังจากคณะรัฐประหารยึดอำนาจเรียบร้อยแล้ว นายไพศาลถูกเรียกตัวเข้าไปช่วยงานด้านกฎหมายในกองบัญชาการกองทัพบก และต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในระหว่างเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้เสนอร่างกฎหมายยกฐานะโรงเรียนนายร้อยตำรวจสามพราน เป็นมหาวิทยาลัย และได้เสนอร่างกฎหมายให้รถยนต์เป็นทรัพย์สินที่จำนองได้ เพื่อช่วยเหลือประชาชนผู้มีรายได้น้อย ไม่ให้ต้องถูกคิดดอกเบี้ยซ้ำซ้อน.
=== สื่ออื่นที่วิพากษ์วิจารณ์ ไพศาล พืชมงคล ===
* [http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9510000124188 พระนเรศวรออกศึก!] (บทความโดยไพศาล พืชมงคล ที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์)
* [http://www.rpathailand.com/index.aspx?ContentID=ContentID-090725181519991 ความจริงของสถานการณ์ ตอน ๔]
 
{{เรียงลำดับ|พไพศาล พืชมงคล}}
{{เกิดปี|2490}}{{Alive}}
[[หมวดหมู่:ชาวสงขลา]]
[[หมวดหมู่:นักกฎหมายชาวไทย]]