ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 12:
เซนเป็นสาขาหนึ่งของพุทธศาสนา [[นิกายมหายาน]] ซึ่งยึดถือหลักปฏิบัติธรรมตามหลักของพระพุทธเจ้า ตามหลักของ[[อริยสัจ 4]] และ [[มรรค 8]] เซน ได้รับการยอมรับจากบุคคลที่ไม่ใช่พุทธศาสนิกชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคคลนอกทวีปเอเชีย ที่สนใจในเซนสามารถศึกษาและปฏิบัติธรรมได้ และได้เกิดนิกายสายย่อยออกมาที่เรียกว่า[[คริสเตียนเซน]]
 
== ลำดับพระสังฆปรินายกฝ่ายในนิกายเซน==
 
ตามคติของนิกายเซน ถือว่าธรรมเนียมของนิกายนี้ได้รับการสืบทอดจาก[[พระโคตมพุทธเจ้า|พระศากยมุนีสัมมาสัมพุทธเจ้า]] (釋迦牟尼佛) ผ่านทางพระอริยสงฆ์สาวกผู้ซึ่งในสายของพระมหากัสสปะ โดยได้รับการถ่ายทอดชี้ธรรม ธรรมะด้วยวิถีแห่ง "จิต สู่ จิต" แต่ละรุ่นๆ จะได้และรับมอบ บาตร จีวร สังฆาฏิ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าเป็นสัญญลักษณ์สำคัญของตำแหน่ง จนมาถึงพระโพธิธรรม ซึ่งเป็นผู้นำนิกายเซนจากจีนมาสู่อินเดีย มีจำนวนทั้งสิ้น 28 องค์ ดังนี้
# [[พระมหากัสสปะ|พระมหากัสสปะ (พระมหากาศยปะ)]] Móhējiāyè 摩訶迦葉
釋迦牟尼佛 พระศรีศากยมุนีพุทธเจ้า
# [[พระอานนท์]] Ānántuó 阿難陀
# พระศาณวาสะ Shāngnàhéxiū 商那和修
# [[พระอุปคุปต์]] Yōupójúduō 優婆掬多
# พระธฤตก Dīduōjiā 提多迦
# พระมิจกะ Mízhējiā 彌遮迦
# พระวสุมิตร Póxūmì 婆須密
# พระพุทธานันทิ Fútuónándī 浮陀難提
# พระพุทธมิตร Fútuómìduō 浮陀密多
# พระปารศวะ Pólìshīpó 婆栗濕婆
# พระปุณยยศัส Fùnàyèshē 富那夜奢
# พระอานโพธิ/[[พระอัศวโฆษ]] Ānàpútí 阿那菩提 (นับถือว่าเป็นพระมหาโพธิสัตว์)
# พระกปิมละ Jiāpímóluó 迦毘摩羅
# [[พระนาคารชุน]] Lóngshù 龍樹 (นับถือว่าเป็นพระมหาโพธิสัตว์)
# พระอารยเทวะ/พระกาณเทวะ] Jiānàtípó 迦那提婆
# พระราหุลตะ Luóhóuluóduō 羅睺羅多
# พระสังฆนันทิ Sēngqiénántí 僧伽難提
# พระสังฆยศัส Sēngqiéshèduō 僧伽舍多
# พระกุมารตะ Jiūmóluóduō 鳩摩羅多
# พระศยต Shéyèduō 闍夜多
# [[พระวสุพันธุ]] Shìqīn 世親
# พระมโนรหิตะ Mónáluó 摩拏羅
# พระหเกฺลนยศัส Hèlèyènàyèzhě 鶴勒夜那夜者
# พระสิงหโพธิ Shīzǐpútí 師子菩提
# พระวสิอสิต Póshèsīduō 婆舍斯多
# พระปุณยมิตร Bùrúmìduō 不如密多
# พระปรัชญาตาระ Bānruòduōluó 般若多羅
# [[พระโพธิธรรม]] Pútídámó 菩提達磨
 
หลังจากพระโพธิธรรมนำศาสนาพุทธนิกายเซนจากอินเดียเข้ามาสู่ประเทศจีนแล้ว จึงมีการสืบทอดตำแหน่งพระสังฆนายกในจีนต่อมาอีก 6 องค์ (หนังสือบางแห่งนับว่ามี 7 องค์) จึงได้ยุติการสืบทอดตำหน่งสังฆนายก ดังนี้
การถ่ายทอดธรรมดังกล่าวมีพระอริยเจ้าแต่ละสมัยรับช่วงสืบทอดกันลงมาโดยลำดับดังนี้
 
{| border="1" cellpadding="3" cellspacing="0" style="font-size:100%;">
# 初祖訶迦葉尊者 พระมหากัสสปเถระ
| style="text-align:center;" |
# 二祖阿難陀尊者 พระอานนท์เถระ
| style="text-align:center;" | ''The Continued Biographies<br> of Eminent Monks''<br>Xù gāosēng zhuàn 續高僧傳<br>of Dàoxuān 道宣<br>(596-667)
# 三祖商那和修尊者 พระสันนวสะเถระ
| style="text-align:center;" | ''The Record of the Transmission<br> of the Dharma-Jewel''<br>Chuán fǎbǎo jì 傳法寶記<br>of Dù Fěi 杜胐
# 四祖優婆□多尊者 พระอุปคุปด์เถระ
| style="text-align:center;" | ''History of Masters and Disciples of the Laṅkāvatāra-Sūtra''<br>Léngqié shīzī jì 楞伽師資紀記<br>of Jìngjué 淨覺<br>(ca. 683 - ca. 650)
# 五祖提多迦尊者 พระธริตกเถระ
| style="text-align:center;" | ''The Xiǎnzōngjì 显宗记<br>of Shénhuì 神会''
# 六祖彌遮迦尊者 พระมัจฉกะ
|-
# 七祖婆須密尊者 พระวสุมิตรเถระ
| style="text-align:center;" | 1 ||style="text-align:center;" | Bodhidharma ||style="text-align:center;"| Bodhidharma ||style="text-align:center;"| Bodhidharma ||style="text-align:center;"| Bodhidharma
# 八祖佛陀難提尊者 พระพุทธนันทิเถระ
|-
# 九祖伏馱密多尊者 พระพุทธมิตรเถระ
| rowspan=2 style="text-align:center;" | 2 || rowspan=2 style="text-align:center;" | [[Huìkě]] 慧可 (487? - 593)
# 十祖脅尊者 พระปารศวะเถระ
| style="text-align:center;" | [[Dàoyù]] 道育 ||style="text-align:center;"| [[Dàoyù]] 道育 ||style="text-align:center;"| [[Dàoyù]] 道育
# 十一祖富那夜奢尊者 พระปุณยยศัสเถระ
|-
# 十二祖馬鳴大士 พระอัศวโฆษ มหาโพธิสัตว์
| style="text-align:center;" | [[Huìkě]] 慧可 (487? - 593) ||style="text-align:center;"| [[Huìkě]] 慧可 (487? - 593) ||style="text-align:center;"| [[Huìkě]] 慧可 (487? - 593)
# 十三祖迦毗摩羅尊者 พระกบิลเถระ
|-
# 十四祖龍樹尊者 พระนาคารชุน มหาโพธิสัตว์
| style="text-align:center;" | 3 || style="text-align:center;" | [[Sēngcàn]] 僧璨 (d.606) ||style="text-align:center;"| [[Sēngcàn]] 僧璨 (d.606) ||style="text-align:center;"| [[Sēngcàn]] 僧璨 (d.606) ||style="text-align:center;"| [[Sēngcàn]] 僧璨 (d.606)
# 十五祖迦那提婆尊者 พระคุณเทวเถระ
|-
# 十六祖羅侯羅多尊者 พระราหุลตเถระ
| style="text-align:center;" | 4 || style="text-align:center;" | [[Dàoxìn]] 道信 (580 - 651) ||style="text-align:center;"| [[Dàoxìn]] 道信 (580 - 651) ||style="text-align:center;"| [[Dàoxìn]] 道信 (580 - 651) ||style="text-align:center;"| [[Dàoxìn]] 道信 (580 - 651)
# 十七祖僧伽難提尊者 พระสังฆนันทิเถระ
|-
# 十八祖伽耶舍多尊者 พระสังฆยศัสเถระ
| style="text-align:center;" | 5 || style="text-align:center;" | [[Hóngrěn]] 弘忍 (601 - 674) ||style="text-align:center;"| [[Daman Hongren|Hóngrěn]] 弘忍 (601 - 674) ||style="text-align:center;"| [[Daman Hongren|Hóngrěn]] 弘忍 (601 - 674) ||style="text-align:center;"| [[Daman Hongren|Hóngrěn]] 弘忍 (601 - 674)
# 十九祖鳩摩羅多尊者 พระกุมารตเถระ
|-
# 二十祖闍夜多尊者 พระชยเถระ
| rowspan=2 style="text-align:center;" | 6 || rowspan=2 style="text-align:center;" | -
# 二十一祖婆修盤頭尊者 พระวสุพันธุเถระ
| style="text-align:center;" | [[Fǎrú]] 法如 (638-689) ||style="text-align:center;"| [[Shénxiù]] 神秀 (606? - 706) ||style="text-align:center;" rowspan=2 | [[Huìnéng]] 慧能 (638-713)
# 二十二祖摩拏羅尊者 พระมนูรเถระ
|-
# 二十三祖鶴勒那尊者 พระฮักเลนยศัสเถระ
| style="text-align:center;" | [[Shénxiù]] 神秀 (606? - 706) 神秀 (606? - 706) ||style="text-align:center;"| [[Xuánzé]] 玄賾
# 二十四祖師子尊者 พระสินหเถระ
|-
# 二十五祖婆舍斯多尊者 พระวสิอสิตเถระ
| style="text-align:center;" | 7 || style="text-align:center;" | - ||style="text-align:center;"| - ||style="text-align:center;"| - ||style="text-align:center;"| [[Xuánjué]] 玄覺 (665-713)
# 二十六祖不如密多尊者 พระปุณยมิตรเถระ
|}
# 二十七祖般若多羅尊者 พระปรัชญาตาระ
# 二十八祖菩提達磨大師 พระโพธิธรรม
 
โดย ลำดับที่ 28 (สายชมพูทวีป) คือพระโพธิธรรม เมื่อท่านเดินทางเผยแพร่พุทธศาสนาเข้าสู่จีน ที่นี่เองการอ่านชื่อออกเสียงว่า "โพธิธรรม" หรือ "โบ-ตะ-มะ" ที่คนไทยรู้จักกันในนาม "ตั๊กม้อ" ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งวัดเส้าหลิน นับเป็นพระสังฆปรินายกฝ่ายเซนองค์แรกในจีน ต่อมาเมื่อสืบทอดพระสังฆปรินายกองค์ที่ 3 (ฝ่ายจีน) จึงได้เผยแพร่เข้าสู่ประเทศญี่ปุ่น
 
วัฒนธรรมของชาวญี่ปุ่นที่ชาวต่างชาติรู้จักกันดี ได้แฝงเอาพุทธปรัชญา แบบเซนไว้อย่างแนบแน่น เช่น พิธีชงชา อิเคบานะ(การจัดดอกไม้แบบญี่ปุ่น) วิถีซามุไร คิวโด(การยิงธนูแบบญี่ปุ่น) แม้แต่แนวทางการเล่นโกะหรือหมากล้อมแบบญี่ปุ่น เป็นต้น
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เซน"