ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คตินิยมนักวิชาการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รูปแบบแห่งรัฐ}}
'''คตินิยมนักวิชาการ''' ({{lang-en|technocracy}}) เป็นระบอบการปกครองซึ่งวิทยาศาสตร์จะมีอยู่ในการควบคุมการตัดสินใจทั้งหมด [[นักวิทยาศาสตร์]] [[วิศวกร]]และนักเทคโนโลยีผู้มีความรู้ ความชำนาญหรือทักษะจะก่อตัวเป็นองค์การปกครอง แทน[[นักการเมือง]] [[นักธุรกิจ]]และนักเศรษฐศาสตร์<ref> Ernst R. Berndt, (1982).[http://dspace.mit.edu/bitstream/handle/1721.1/2023/SWP-1353-09057784.pdf “From Technocracy To Net Energy Analysis: Engineers, Economists And Recurring Energy Theories Of Value”], Studies in Energy and the American Economy, Discussion Paper No. 11, Massachusetts Institute of Technology, Revised September 1982</ref> ในคตินิยมนักวิชาการ ผู้ตัดสินใจจะถูกเลือกโดยดูจากความรู้และทักษะที่พวกเขามีในสาขาของตน
 
คำว่า "คตินิยมนักวิชาการ" นี้ เดิมทีใช้เรียกการใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาสังคม ซึ่งต่างไปจากการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีทาง[[เศรษฐกิจ]] [[การเมือง]]หรือ[[ปรัชญา]]แบบเก่า ตามผู้เสนอมโนทัศน์นี้ บทบาทของเงินและคุณค่าทางเศรษฐกิจ ความเห็นทางการเมืองและกลไลการควบคุมซึ่งยึดมั่นในศีลธรรมจะถูกตัดทิ้งไปทั้งหมด หากเมื่อรูปแบบการควบคุมทางสังคมนี้ได้ถูกนำไปใช้ในพื้นที่แห่งทวีป ซึ่งมีทรัพยากรธรรมชาติเพียงพอ บุคลากรซึ่งถูกฝึกทางเทคนิค และสินค้าอุตสาหกรรมที่ติดตั้งแล้ว เพื่อที่จะเปิดให้การผลิตและการแจกจ่ายสินค้าและบริการทางภายภาพแก่พลเมืองแห่งทวีปทั้งหมดในปริมาณที่เกินความสามารถทางกายของปัจเจกบุคคลจะบริโภคได้<ref name="BEW8">{{cite web|url=http://www.hubbertpeak.com/hubbert/Technocracy1943.pdf|title=Questioning of M. King Hubbert, Division of Supply and Resources, before the Board of Economic Warfare|date=1943-04-14|format=PDF|accessdate=2008-05-04}}p.35 (p.44 of PDF), p.35</ref> ในการจัดเตรียมเช่นนัน ความกังวลจะเป็นเรื่องความยั่งยืนภายในฐานทรัพยากร แทนที่จะเป็นการได้ประโยชน์ทางการเงิน เพื่อที่จะรับประกันให้หน้าที่ทางสังคม-อุตสาหกรรมทั้งหมดดำเนินต่อไปในอนาคตอย่างไม่มีที่สิ้นสุด<ref name="BEW8">{{cite web|url=http://www.hubbertpeak.com/hubbert/Technocracy1943.pdf|title=Questioning of M. King Hubbert, Division of Supply and Resources, before the Board of Economic Warfare|date=1943-04-14|format=PDF|accessdate=2008-05-04}}p.35 (p.44 of PDF), p.35</ref> ทักษะทางเทคนิคและความเป็นผู้นำจะถูกเลือกบนพื้นฐานของความรู้และสมรรถนะทางวิชาการ มากกว่าการเลือกตั้งแบบ[[ประชาธิปไตย]] โดยผู้ไม่มีความรู้หรือทักษะเช่นนั้นซึ่งถือว่าเป็นสิ่งจำเป็น
 
บางคนใช้คำว่า คตินิยมนักวิชาการ หมายถึงรูปแบบหนึ่งของ[[คุณธรรมนิยม]] (meritocracy) ซึ่งเป็นระบบที่ "ผู้มีคุณวุฒิสูงสุด" และผู้ซึ่งตัดสินความสมบูรณ์ของคุณสมบัตินั้นคือคน ๆ เดียวกัน การนำไปใช้อื่นได้ถูกอธิบายว่าไม่เป็นกลุ่มผู้ควบคุมที่เป็นมนุษย์แบบ[[คณาธิปไตย]] (oligarchy) แต่เป็นเหมือนการบริหารจัดการโดยวิทยาศาสตร์เฉพาะสาขา อย่างเห็นได้ชัดโดยปราศจากอิทธฺพลอิทธิพลของกลุ่มผลประโยชน์พิเศษ<ref>[http://www.technocracy.org/Archives/History%20&%20Purpose-r.htm History and Purpose of Technocracy by Howard Scott]</ref> ปัจจุบัน ความหมายของคำว่า คตินิยมนักวิชาการ ได้ขยายไปบ่งชี้การจัดการหรือการบริหารทุกประเภทโดยผู้เชี่ยวชาญทางวิชาการ ("[[นักวิชาการ]]") ในสาขาใด ๆ ไม่เพียงแต่[[วิทยาศาสตร์กายภาพ]]เท่านั้น และมีการใช้อธิบายรัฐบาลที่รวมผู้เชี่ยวชาญที่ไม่ได้ถูกเลือกตั้งขึ้นที่ระดับ[[รัฐมนตรี]]<ref name=who>{{cite news |title=Who, what, why: what can technocrats achieve that politicians can't? |author= |author2= |url=http://www.bbc.co.uk/news/magazine-15720438 |newspaper=BBC News |date=14 November 2011 |accessdate=19 February 2012}}</ref><ref name=minds>{{cite news |title=Technocrats—Minds like machines: Government by experts sounds tempting, especially in a crisis. It can work. But brief stints have the best chances. |author= |author2= |url=http://www.economist.com/node/21538698 |newspaper=The Economist |date=19 November 2011 |accessdate=21 February 2012}}</ref>
 
[[หมวดหมู่:การเมืองกับเทคโนโลยี]]