ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศเวียดนาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 75:
 
=== ราชวงศ์ยุคใหม่ ===
* [[พ.ศ. 1552]]-[[พ.ศ. 1768|1768]] '''[[ราชวงศ์หลี]]'''--[[หลี กง อ่วน]]มีอำนาจใน[[ราชสำนักฮวาลือ]] เมื่อขึ้นครองราชย์ ทรงย้ายเมืองหลวงไปที่ [[ทังลอง]] ([[ฮานอย]]) ทรงสร้างวัดขึ้น 150 แห่ง ในปี 1070 นำระบบการสอบ[[จอหงวน]]มาใช้ ก่อตั้ง[[มหาวิทยาลัย วันเหมียว]] ให้ความรู้เกี่ยวกับวรรณคดี[[ขงจื้อ (วรรณคดี)|ขงจื้อ]] เพื่อสอบเข้ารับราชการใน[[ระบบจอหงวน]] แต่[[ขุนนาง]]ยังมีจำนวนน้อย ส่วนหนึ่งเป็นเชื้อสายผู้มีอิทธิพลในหัวเมือง ต่อมาทรงพระนามว่า [[หลีไถโต๋]] สมัยหลีเป็นสมัยที่[[พระพุทธศาสนา]]มี[[อิทธิพล]]ต่อ[[การเมือง]][[การปกครอง]]และ[[สังคม]]มาก ที่ปรึกษาราชการในบางสมัยเป็น[[พระสงฆ์]] จักรพรรดิราชวงศ์หลีช่วงหลังสร้างวัดขนาดใหญ่ขึ้นหลายแห่ง และสละราชสมบัติออกผนวช เป็นสาเหตุให้การบริหารราชการเริ่มตกอยู่ในอำนาจของเครือญาติ[[พระชายามา]]จากตระกูลที่มั่งคั่งในหัวเมือง ผู้ปกครององค์สุดท้ายเป็นเด็กหญิงที่ได้รับการตั้งเป็น[[จักรพรรดินี]] พระนามว่า[[หลีเจี่ยว]] การบริหารราชการตกอยู่ในอำนาจของญาติวงศ์พระชนนีซึ่งเป็นขุนศึกมีกองกำลังทหารอยู่ในมือ เช่น[[เจิ่นถูโดะ]] ซึ่งก่อ[[รัฐประหาร]]ยึดอำนาจจากราชวงศ์หลีในที่สุด
* พ.ศ. 1552-1768 [[ราชวงศ์หลี]]--[[หลี กง อ่วน]]มีอำนาจในราชสำนักฮวาลือ เมื่อขึ้นครองราชย์
ทรงย้ายเมืองหลวงไปที่ ทังลอง (ฮานอย) ทรงสร้างวัดขึ้น 150 แห่ง ในปี 1070 นำระบบการสอบจอหงวนมาใช้ ก่อตั้งมหาวิทยาลัย วันเหมียว ให้ความรู้เกี่ยวกับวรรณคดีขงจื้อ เพื่อสอบเข้ารับราชการในระบบจอหงวน แต่ขุนนางยังมีจำนวนน้อย ส่วนหนึ่งเป็นเชื้อสายผู้มีอิทธิพลในหัวเมือง ต่อมาทรงพระนามว่า หลีไถโต๋ สมัยหลีเป็นสมัยที่พุทธศาสนามีอิทธิพลต่อการเมืองการปกครองและสังคมมาก ที่ปรึกษาราชการในบางสมัยเป็นพระสงฆ์ จักรพรรดิราชวงศ์หลีช่วงหลังสร้างวัดขนาดใหญ่ขึ้นหลายแห่ง และสละราชสมบัติออกผนวช เป็นสาเหตุให้การบริหารราชการเริ่มตกอยู่ในอำนาจของเครือญาติพระชายามาจากตระกูลที่มั่งคั่งในหัวเมือง ผู้ปกครององค์สุดท้ายเป็นเด็กหญิงที่ได้รับการตั้งเป็นจักรพรรดินี พระนามว่าหลีเจี่ยว การบริหารราชการตกอยู่ในอำนาจของญาติวงศ์พระชนนีซึ่งเป็นขุนศึกมีกองกำลังทหารอยู่ในมือ เช่นเจิ่นถูโดะ ซึ่งก่อรัฐประหารยึดอำนาจจากราชวงศ์หลีในที่สุด
 
* พ.ศ. 1768-[[พ.ศ. 1943|1943]] '''[[ราชวงศ์เจิ่น]]'''--[[เจิ่นถูโดะ]]ญาติของพระชายาจักรพรรดิก่อ[[รัฐประหาร]] ยึดอำนาจท่ามกลางสถานการณ์[[กบฏ]]และ[[การรุกรานจากข้าศึก]]ต่างชาติ จากนั้นได้อภิเษกสมรสกับพระนาง[[เจียว ฮว่าง]] [[จักรพรรดินี]]องศ์สุดท้ายของ[[ราชวงศ์หลี ]]แล้วยกหลานขึ้นเป็น[[จักรพรรดิ]]องค์แรกของราชวงศ์เจิ่น สมัยเจิ่นเวียดนามต้องเผชิญกับศึกสงครามโดยตลอด ที่ร้ายแรงที่สุดคือการรุกรานจากพวก[[มองโกล]]และ[[จัมปา]] สมัยเจิ่นก็เริ่มให้ความสำคัญกับ[[อารยธรรมจีน]]มากกว่ายุคก่อนหน้าโดยเฉพาะด้าน[[ภูมิปัญญา]]และ[[อักษรศาสตร์]] รวมถึงการ[[บริหารราชการ]]แบบ[[จีน]] ในสมัยนี้มีการประมวล[[พงศาวดารชาติ]]เป็นครั้งแรก ชื่อว่า [[ด่ายเหวียตสือกี๋]] หรือ บันทึกประวัติศาสตร์[[มหาอาณาจักรเวียด]] โดยราชบัณฑิต [[เลวันฮึว]] นอกจากนี้ยังเริ่มมีการประดิษฐ์อักษรของเวียดนามที่เรียกว่า '''[[อักษรโนม]]''' ขึ้นเป็นครั้งแรก
 
* พ.ศ. 1943-[[พ.ศ. 1971|1971]] '''[[ราชวงศ์โห่]]'''--[[โห่กุ๊ยลี]] ญาติของพระชายา[[จักรพรรดิ]][[ราชวงศ์เจิ่น]] สร้างฐานอำนาจของตนด้วยการเป็น[[แม่ทัพ]]ทำศึกกับพวก[[จามใต้|จามทางใต้]] ต่อมาก่อ[[รัฐประหาร]]ยึดอำนาจจากจักรพรรดิราชวงศ์เจิ่นและพยายามกำจัดเชื้อสายราชวงศ์ที่หลงเหลืออยู่ จากนั้นขึ้นครองราชย์ ตั้งทายาทของตนเป็น[[จักรพรรดิ]]ต่อมา ราชนิกูล[[ราชวงศ์เจิ่น]]ได้ขอความช่วยเหลือไปยัง[[จีน]] ทำให้[[จีน]]ส่งกองทัพเข้ามาล้มล้าง '''[[ราชวงศ์โห่]]''' แต่สุดท้ายก็ไม่มอบอำนาจให้แก่[[ราชวงศ์เจิ่น]] และยึดครองเวียดนามแทนที่
 
* การกู้เอกราชและก่อตั้ง '''[[ราชวงศ์เล]]''' (ยุคหลัง) พ.ศ. 1971-2331 [[พ.ศ. 19612331|2331]] [[เล่เหล่ย]] ชาวเมือง[[แทงหวา]] ทางใต้ของ[[ฮานอย]] ได้รวบรวมสมัครพรรคพวกตั้งตนขึ้นเป็น[[ผู้นำเวียดนาม]] ขับไล่[[จีน]]ออกจากเวียดนามได้สำเร็จ ต่อมาในปี พ.ศ. 1971 [[เลเหล่ย]]ขึ้นครองราชย์เป็น[[จักรพรรดิ]]องค์ใหม่ สถาปนา '''[[ราชวงศ์เล]]''' ขึ้น มีราชธานีที่[[ฮานอย]]หรือ[[ทังลอง]]และราชธานีอีกแห่งคือที่เมือง[[แทงหวา]] (ทันห์ว้า) หรือ ราชธานีตะวันตก ซึ่งเป็นถิ่นฐานเดิมของเลเหล่ยและตระกูลเล ต่อมา[[เลเหล่ย]]ได้รับการถวายพระนามว่า '''เลไถโต๋'''
 
[[ราชวงศ์เล]]ช่วงแรกเป็นช่วงสร้างความมั่นคงและฟื้นฟูประเทศในทุกด้าน โดยเฉพาะในสมัยเลไถโต๋หรือ[[เลเหล่ย]] เช่นการสร้างระบบ[[ราชการ]] จัดสอบคัดเลือก[[ขุนนาง]] ตรากฎหมายใหม่ แบ่ง[[เขตการปกครองของประเทศเวียดนาม|เขตการปกครอง]]ใหม่ ฟื้นฟู[[การเกษตร]] รวมถึงการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับ[[จีน]]ทำให้เวียดนามเข้าสู่ยุคสงบสุขปลอดจากสงครามอีกครั้ง
พ.ศ. 1971 เลเหล่ยขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิองค์ใหม่ สถาปนาราชวงศ์เลขึ้น มีราชธานีที่ฮานอยหรือทังลองและราชธานีอีกแห่งคือที่เมืองแทงหวา (ทันห์ว้า) หรือ ราชธานีตะวันตก ซึ่งเป็นถิ่นฐานเดิมของเลเหล่ยและตระกูลเล ต่อมาเลเหล่ยได้รับการถวายพระนามว่า เลไถโต๋
ราชวงศ์เลช่วงแรกเป็นช่วงสร้างความมั่นคงและฟื้นฟูประเทศในทุกด้าน โดยเฉพาะในสมัยเลไถโต๋หรือเลเหล่ย เช่นการสร้างระบบราชการ จัดสอบคัดเลือกขุนนาง ตรากฎหมายใหม่ แบ่งเขตการปกครองใหม่ ฟื้นฟูการเกษตร รวมถึงการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนทำให้เวียดนามเข้าสู่ยุคสงบสุขปลอดจากสงครามอีกครั้ง
 
หลังสมัย[[เลเหล่ย]] เริ่มเกิดความขัดแย้งระหว่าง[[ขุนนางพลเรือน]]กับบรรดา[[ขุนศึก]]ที่ร่วมทัพกับ[[เลเหล่ย]]ในการสู้รบกับจีน ความขัดแย้งบานปลายจนนำไปสู่การแบ่งพรรคแบ่งพวกในหมู่[[ข้าราชสำนัก]] จนเกิดการ[[รัฐประหาร]]ครั้งแรกของ[[ราชวงศ์เลในพเล]]ใน [[พ.ศ. 2002]] มีการประหาร[[พระชนนี]]และ[[จักรพรรดิ]]ขณะนั้น ต่อมาบรรดาขุนนางจึงสนับสนุนให้ราชนิกูลอีกพระองค์หนึ่งมาเป็น[[จักรพรรดิ]]แทน ต่อมาคือ[[จักรพรรดิเลแถงตง]] ([[พ.ศ. 2003]]-[[พ.ศ. 2040|2040]])
(พ.ศ. 2003-2040)
 
รัชกาล[[จักรพรรดิเลแถงตงเลแถงตง]]ถือว่ายาวนานและรุ่งเรืองที่สุดยุคหนึ่งใน[[ประวัติศาสตร์ของเวียดนาม]] มีการปฏิรูปประเทสประเทศหลายด้านโดยยึดรูปแบบ[[จีน]]มากกว่าเดิม ทั้งระบบการ[[สอบรับราชการ]]ที่จัดสอบครบสามระดับตั้งแต่อำเภอจนถึงราชธานี จำนวน[[ขุนนาง]]เพิ่มขึ้นทวีคูณและทำให้ระบบราชการขยายตัวมากกว่ายุคสมัยก่อนหน้า นอกจากนั้นยังมีการ[[ประมวลกฎหมาย]]ใหม่พระองค์ทรงสร้างเวียดนามให้เป็น[[มหาอำนาจ]]และเป็นศูนย์กลางด้วย[[การทำสงคราม]]กับเพื่อนบ้านที่มักขัดแย้งกับเวียดนามคือ[[จัมปา]]และ[[ลาว]] อิทธิพลของเวียดนามรับรู้ไปจนถึงหัวเมืองเผ่าไทใน[[จีน]]ตอนใต้และ[[ล้านนา]] หลังรัชกาลนี้ราชวงศ์เลเริ่มประสบปัญหาความขัดแย้งในหมู่[[ขุนนาง]] [[เชื้อพระวงศ์]] ปัญหา[[เศรษฐกิจ]]จนที่สุดก็ถูก[[รัฐประหาร]]โดย[[ขุนศึกหมักดังซุง]] ในพในปี [[พ.ศ. 2071]] เชื้อพระวงศ์[[ราชวงศ์เล]]หลบหนีด้วยการช่วยเหลือของ[[ขุนศึกตระกูลเหงเหวียนและจิ่งยน]]และ[[ขุนศึกตระกูลจิ่ง|จิ่ง]] ที่มีอิทธิพลใน[[ราชสำนัก]]มาแต่แรก
 
[[ราชวงศ์เล]]เริ่มการฟื้นฟูกอบกู้[[อำนาจ]]คืนโดยมี[[แม่ทัพ]]เป็นคน[[ตระกูลเหงเหวียนและจิ่งยน]]และ[[ตระกูลจิ่ง|จิ่ง]] ทำสงครามกับ[[ราชวงศ์หมัก]]จนถึงปี [[พ.ศ. 2136]] จึงสามารถยึดเมือง[[ทังลอง]]คืนได้และฟื้นฟู[[ราชวงศ์เล]]ปกครองเวียดนามต่อไป
 
=== ยุคแตกแยกเหนือ-ใต้ ===
* หลังการฟื้นฟู[[ราชวงศ์เลขึ้นได้เล]]ขึ้นได้ [[ขุนศึกตระกูลจิ่ง]]ตั้งตนเป็น[[ผู้สำเร็จราชการ]] และบีบให้[[ขุนศึกตระกูลเหงเหวียน]]ไปปกครองเขตชายแดนใต้บริเวณเมืองด่งเหย[[ด่งเหย]]ลงไปถึงบริเวณเมือง[[ดานัง]]ในปัจจุบัน ขุนศึกตระกูลจิ่งตั้งตนเป็น "'''เจ้า" สืบตำแหน่งผู้สำเร็จราชการ''' ในตระกูลของตนเอง [[ขุนศึกตระกูลเหงเหวียน]]จึงประกาศไม่ยอมรับการปกครองของ[[ตระกูลจิ่ง]]จนเกิด[[สงคราม]]ครั้งใหม่ต่อมาอีกหลายสิบปี เวียดนามแบ่งแยกเป็นสองส่วน ส่วนเหนือ คือ [[เวียดนามเหนือ]] อยู่ในการปกครองของ[[ราชวงศ์เล]]และเจ้า[[ตระกูลจิ่ง]] มีศูนย์กลางที่[[ทังลอง]] ส่วนใต้ คือ [[เวียดนามใต้]] มี[[ตระกูลเหงเหวียนปกครองยน]]ปกครอง มีศุนย์กลางที่เมืองฝูซวน[[ฝูซวน]]หรือ[[เว้ ]]ในปัจจุบัน
 
=== ยุค[[ยุคเตยเซิน]] ===
* [[พ.ศ. 2316]] เกิด[[กบฎ]]นำโดย[[ชาวนา]]สามพี่น้องที่หมู่บ้าน[[เตยเซิน]]ขึ้นในเขตเมือง[[บิ่งดิ่ง]] เขตปกครองของ[[ตระกูลเหงเหวียน]] และสามารถยึดเมืองฝูซวนได้[[ฝูซวน]]ได้ องค์ชาย[[เหงวียนแอ๋ง]] เชื้อสายตระกูลเหงวียนหลบหนีลงใต้ออกจากเวียดนามไปจนถึง[[กรุงเทพมหานคร|กรุงเทพฯ]] ก่อนกลับมารวบรวมกำลังเอาชนะพวก[[เตยเซินได้เซิน]]ได้
 
องค์ชายเหงวียนแอ๋งหรือเหงวียนฟุกอ๊าน (องเชียงสือ) ผู้นำตระกูลเหงวียน ซึ่งตั้งตนเป็นจักรพรรดิองค์ใหม่แห่งราชวงศ์เหงวียน ในพ.ศ. 2345 สถาปนาราชธานีใหม่ที่เมือง[[เว้]] แทนที่[[ทังลอง]] ซึ่งถูกเปลี่ยนชื่อเป็น [[ฮานอย]]
 
* [[ราชวงศ์เหงเหวียน]] ([[พ.ศ. 2345]]-[[พ.ศ. 2488|2488]])
องค์ชายเหงวียนแอ๋งหรือ[[จักรพรรดิยาลอง]] จักรพรรดิพระองค์แรกของ[[ราชวงศ์เหงเหวียน]]เริ่มฟื้นฟูประเทศ เวียดนามมีอาณาเขตใกล้เคียงกับปัจจุบัน ดินแดนภาคใต้ขยายไปถึงปาก[[แม่น้ำโขง]]และชายฝั่ง[[อ่าวไทย]] ทรงรักษาสัมพันธ์กับชาวตะวันตกโดยเฉพาะ[[ชาวฝรั่งเศส]]ที่ช่วยรบกับพวก[[เตยเซิน]] นายช่าง[[ฝรั่งเศส]]ช่วยออกแบบพระราชวังที่เว้และป้อมปราการเมือง[[นครโฮจิมินห์|ไซ่ง่อน]]
 
[[ราชวงศ์เหงวียน]]รุ่งเรืองที่สุดในสมัย[[จักรพรรดิมินหมั่ง]] จักรพรรดิองค์ที่สอง ทรงเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น [[ด่ายนาม]] ขยายแสนานุภาพไปยัง[[ลาว]]และ[[กัมพูชา]] ผนวก[[กัมพูชา]]ฝั่งตะวันออก ทำสงครามกับ[[สยาม]]ต่อเนื่องเกือบยี่สิบปี แต่ภายหลังต้องถอนตัวจาก[[กัมพูชา]]หลังถูก[[ชาวกัมพูชา]]ต่อต้านอย่างรุนแรง
 
สมัยนี้เวียดนามเริ่มใช้นโยบายต่อต้านการเผยแพร่คริสต์ศาสนาของ[[บาทหลวง]]ชาวตะวันตก มีการจับกุมและ[[ประหาร]]บาทหลวงชาวตะวันตกอย่างต่อเนื่อง รวมถึงชาวเวียดนามที่นับถือ[[คริสต์ศาสนา]] จนถึงรัชกาลจักรพรรดิองค์ที่ 4 คือ[[จักรพรรดิตึดึ๊ก]] ทรงต่อต้าน[[ชาวคริสต์]]อย่างรุนแรงต่อไป จนในที่สุด[[บาทหลวงชาว]][[ชาวฝรั่งเศส]]ขอความช่วยเหลือจากรัฐบาลของตนให้ช่วยคุ้มครอง [[พ.ศ. 2401]] เรือรบฝรั่งเศสเข้ามาถึงน่านน้ำเมือง[[ดานัง]] (หรือ[[ตูราน]]) ฐานทัพเรือใกล้เมืองหลวง[[เว้]] นำไปสู่การสู้รบกันของทั้งฝ่าย
 
ต่อมากองกำลัง[[ฝรั่งเศส]]ได้บุกโจมตีดินแดนภาคใต้บริเวณปาก[[แม่น้ำโขง]]และยึดครองพื้นที่ได้เกือบทั้งหมด [[จักรพรรดิตึดึ๊ก]]จึงต้องยอมสงบศึกและมอบดินแดนภาคใต้ให้แก่[[ฝรั่งเศส]] ชาวเวียดนามเริ่มต่อต้านการยึดครองของ[[ฝรั่งเศส]]แต่ไม่อาจต่อสู้กับ[[แสนยานุภาพ]]ที่เหนือกว่าได้ [[ฝรั่งเศส]]จึงเข้าควบคุมเวียดนามอย่างจริงจังมากขึ้นและแบ่งเวียดนามออกเป็น 3 ส่วน คืออาณานิคม[[โคชินจีน]] ในภาคใต้ เขตอารักขา[[อันนาม]] ในตอนกลางและเขตอารักขา[[ตังเกี๋ย]]ในภาคเหนือ และเวียดนามยังมี[[จักรพรรดิ]]เป็นประมุขเช่นเดิม แต่ต้องผ่านการคัดเลือกโดย[[ข้าหลวงฝรั่งเศส]]และมีฐานะเป็นสัญลักษณ์ อำนาจในการบริหารการคลัง การทหารและการทูตเป็นของ[[ฝรั่งเศส]] ถือว่าเวียดนามสิ้นสุดฐานะเอกราชนับแต่นั้น
 
=== ยุค[[ยุคอาณานิคม]] ===
[[ฝรั่งเศส]]แสวงหาผลประโยชน์จากการปกครองเวียดนามทางด้านเศรษฐกิจ เวียดนามเป็นแหล่งปลูก[[ข้าว]]และ[[พืชเศรษฐกิจ]]ใหม่ ๆ เช่น[[กาแฟ]] และ[[ยางพารา]] ส่งออกไปยัง[[ฝรั่งเศส]]และเป็นวัตถุดิบแก่โรงงานใน[[ฝรั่งเศส]] ที่ดินในเวียดนามถูกยึดและตกเป็นของ[[ชาวฝรั่งเศส]] ชาวฝรั่งเศสและเริ่มอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในเวียดนาม ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมการศึกษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศสให้แพร่หลายในเวียดนาม ชาวเวียดนามส่วนหนึ่งได้รับการศึกษาแบบใหม่และเริ่มต้องการอิสระในการทำงานและมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ นำไปสู่การก่อตัวของกลุ่มชาตินิยมต่าง ๆ ที่เข้มแข็งที่สุดคือ[[พรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน]]ที่ตั้งขึ้นโดย[[โฮจิมินห์]] ในปี [[พ.ศ. 2473]] และต่อมาปรับเปลี่ยนเป็น '''กลุ่ม[[เวียดมินห์]]''' ได้นำชาวนาก่อการต่อต้าน[[ฝรั่งเศส]]ใน[[ชนบท ]]
 
=== [[ยุคเอกราช]] ===
พ.ศ. 2488 โฮจิมินห์รับมอบอำนาจจากจักรพรรดิบ๋าวได่และรับตำแหน่งประธานาธิบดีคนแรกหลังประกาศเอกราช แต่หลังจากนั้นฝรั่งเศสได้กลับเข้ามาขับไล่รัฐบาลของโฮจิมินห์และไม่ยอมรับเอกราชของเวียดนาม นำไปสู่สงครามจนในที่สุดฝรั่งเศสพ่ายแพ้แก่กองกำลังเวียดมินห์ที่ค่ายเดียนเบียนฟู ในปี [[พ.ศ. 2497]] และมีการทำ[[สนธิสัญญาเจนีวา พ.ศ. 2497|สนธิสัญญาเจีวา]] ของ[[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]] ยอมรับเอกราชของเวียดนาม แต่สหรัฐอเมริกาและชาวเวียดนามในภาคใต้บางส่วนไม่ต้องการรวมตัวกับรัฐบาลของ[[โฮจิมินห์]] ต่อมาได้ก่อตั้งดินแดนเวียดนามภาคใต้เป็นอีกประเทศหนึ่ง คือ [[เวียดนามใต้|สาธารณรัฐเวียดนาม หรือ[[(เวียดนามใต้)]] มีเมืองหลวงคือ '''[[ไซ่ง่อน]]''' ใช้เส้นละติจูดที่ 17 องศาเหนือแบ่งแยกกับเวียดนามส่วนเหนือใต้การปกครองของโฮจิมินห์ ([[เวียดนามเหนือ]])
 
=== [[สงครามเวียดนาม]] ===
[[เวียดนามเหนือ]]ไม่ยอมรับสถานภาพของ[[เวียดนามใต้]] ขณะที่[[สหรัฐอเมริกา]]ได้ให้การช่วยเหลือทาง[[ทหาร]]แก่[[เวียดนามใต้]]อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการส่งทหารมาประจำในเวียดนามใต้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เวียดนามเหนือประกาศทำสงครามเพื่อขับไล่และ "'''ปลดปล่อย"''' [[เวียดนามใต้]]จาก[[สหรัฐอเมริกา]]และรวมเข้าเป็นประเทศเดียวกัน พร้อมให้การสนับสนุนกลุ่มชาว[[เวียดนามใต้]]ที่ต่อต้าน[[สหรัฐอเมริกา]] ([[เวียดกง]]) ในการทำสงคราม
 
การรบส่วนใหญ่กลายเป็นการรบระหว่างทหารอเมริกัน[[สหรัฐอเมริกา]]และพันธมิตรจากต่างประเทศ กับกองกำลังเวียดกงและ[[เวียดนามเหนือ]] ทั้งในชนบทและการโจมตีในเมือง แม้[[สหรัฐอเมริกา]]ได้ทุ่มเท[[แสนยานุภาพ]]อย่างเต็มที่แต่ก็ไม่อาจทำให่สงครามยุติลงได้ หลังการรุกโจมตีครั้งใหญ่ของ[[เวียดนามเหนือ]]และเวียดกงในปี 2511 ที่เมืองเว้และเมืองหลักอื่น ๆ ใน[[เวียดนามใต้]] [[สหรัฐอเมริกา]]เริ่มเตรียมการถอนกำลังจากเวียดนามใต้และให้เวียดนามใต้ทำสงครามโดยลำพัง
 
สหรัฐอเมริกาถอนทหารจากเวียดนามใต้อย่างเป็นทางการในปี [[พ.ศ. 2516]] กองกำลังเวียดนามเหนือและเวียดกงจึงสามารถรุกเข้ายึดไซ่ง่อนและเวียดนามใต้ได้ทั้งหมดในปี [[พ.ศ. 2518]] การรวมเวียดนามทั้งสองส่วนเข้าด้วยกันเกิดขึ้นในวันที่ [[2 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2519]] และเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น '''[[สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม]]''' นับแต่นั้น
 
== การเมือง ==