ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัตว์ขาปล้อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ptbotgourou (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต แก้ไข: ml:ആർത്രോപോഡ
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Taxobox
| color = pink
เส้น 37 ⟶ 36:
** [[Malacostraca]] - [[lobster]]s, [[crab]]s, [[shrimp]], etc.
}}
'''สัตว์ขาปล้อง''' ([[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: Arthropoda ''อาร์โธรโพดา'') เป็น[[ไฟลัม]]หลักของ[[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง]] ที่มีขนาดของลำตัวแบ่งเป็นส่วน ๆ 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนหัว ส่วนอกและส่วนท้อง ซึ่งสัตว์ขาปล้องบางจำพวกอาจจะมีส่วนหัวและส่วนอกที่เชื่อต่อกันเป็นส่วนเดียวกันด้วยก็ได้ จะมีเปลือกแข็งหุ้มบริเวณลำตัวสำหรับทำหน้าที่ป้องกันและช่วยพยุงร่างกายที่อ่อนนิ่มที่ซ่อนอยู่ภายใต้เปลือกแข็ง ชั้นคิวติเคิลเปลี่ยนไปตามรายละเอียดของรูปร่าง ประกอบด้วยสามชั้นคือ ชั้นผิวนอก (epicuticle) เป็นชั้นนอกที่บาง มีขี้ผึ้งเคลือบเพื่อป้องกันความชื้น ชั้นนอก (exocuticle) ประกอบด้วยไคติน และโปรตีนที่ทำให้แข็ง และชั้นใน (endocuticle) ที่ประกอบด้วยไคตินและโปรตีนที่ไม่ทำให้แข็ง ชั้นนอกและชั้นในเรียกรวมกันว่า procuticle <ref name="Mechanical Design in Organisms">{{citation| author=Wainwright, S. A., Biggs, W. D., and Gosline, J. M. |title=Mechanical Design in Organisms |publisher=Princeton University Press |year=1982 |isbn=0691083088 |pages=162–163}}</ref> และที่สำคัญคือช่วยพยุงให้ร่างกายของพวกสัตว์ขาปล้องมีรูปร่างที่แน่นอน
== ลักษณะทั่วไป ==
สัตว์ขาปล้องจะมีลักษณะของลำตัวเป็นปล้อง ๆ บางจำพวกนั้นสามารถแยกส่วนต่าง ๆ ของร่างกายออกเป็น 3 ส่วน คือส่วนหัว ส่วนอกและส่วนท้อง แต่ก็มีสัตว์ขาปล้องบางจำพวกที่มีส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพียงแค่ 2 ส่วน คือมีเพียงแค่ส่วนหัวกับส่วนอกติดกันและส่วนท้องเท่านั้นเอง
 
สัตว์ขาปล้องจะมีช่องเปิดที่สำคัญ มีลักษณะเป็นรูจำนวน 2 รู และมีอวัยวะรับความรู้สึกที่ดี เคลื่อนที่ไปมาได้อย่างรวดเร็ว และหาอาหารได้อย่างง่ายดาย อาศัยอยู่เกือบทุกแห่งของโลก หรืออาจเรียกได้ว่าสัตว์ขาปล้องนั้นมีถิ่นอาศัยอยู่ทุกแห่งในโลก เรียกได้ว่าประมาณ 3/4 ของสัตว์ทั้งหลายภายในโลก คือสัตว์จำพวกสัตว์ขาปล้อง
 
== ลักษณะทั่วไป ==
สัตว์ขาปล้องจะมีลักษณะของลำตัวเป็นปล้อง ๆ บางจำพวกนั้นสามารถแยกส่วนต่าง ๆ ของร่างกายออกเป็น 3 ส่วน คือส่วนหัว ส่วนอกและส่วนท้อง แต่ก็มีสัตว์ขาปล้องบางจำพวกที่มีส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพียงแค่ 2 ส่วน คือมีเพียงแค่ส่วนหัวกับส่วนอกติดกันและส่วนท้องเท่านั้นเอง
 
== การจัดจำแนก ==
ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของอาร์โทรพอดใช้ข้อมูลทางพันธุกรรมจากดีเอ็นเอจาก[[ไมโทคอนเดรีย]] <ref name="Hassanin">{{cite journal |author=Alexandre Hassanin |title=Phylogeny of Arthropoda inferred from mitochondrial sequences: Strategies for limiting the misleading effects of multiple changes in pattern and rates of substitution |year=2006 |journal=[[Molecular Phylogenetics and Evolution]] |volume=38 |pages=100–116 |doi=10.1016/j.ympev.2005.09.012|url=http://www.csulb.edu/~dlunderw/entomology/Arthropodphylogeny2006.pdf |pmid=16290034 |issue=1}}</ref> ซึ่งแบ่งย่อยได้เป็น 5 ไฟลัมย่อย คือ
 
* ไฟลัมย่อย[[ไทรโลบิโตมอร์ฟา]] สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว พบแต่ในซากชีวิตโบราณ ถือว่าเป็นสัตว์ขาปล้องกลุ่มแรก
* ไฟลัมย่อย[[เคลิเซราตา]] ลำตัวแบ่งเป็นสองส่วนคือส่วนหัวและอกรวมเป็นชิ้นเดียวเรียกเซฟาโลทอแรกซ์ กับส่วนท้อง มีรยางค์สำคัญ 1 คู่ข้างหน้า ใช้หาอาหาร แบ่งย่อยเป็น
** [[ชั้นเมโรสโตมาตา]] เช่น[[แมงดาทะเล]]
** [[ชั้นอะแรกนิดา]] เช่น [[แมงมุม]] [[แมงป่อง]] [[เห็บ]]แข็งในสุนัข
* ไฟลัมย่อย[[ครัสตาเชีย]] เซฟาโลทอแรกซ์มีระยางค์ 5 คู่ แต่ละคู่มี 2 ก้าน ส่วนท้ายมีระยางค์อีก 8 คู่ อวัยวะรับความรู้สึกมีตาประกอบเป็นก้าน ขนแข็งทั่วตัวใช้รับสัมผัสและอวัยวะเกี่ยวกับการทรงตัว ระบบสืบพันธุ์แยกเพศกัน ปฏิสนธิภายใน ตัวอ่อนลอกคราบหลายครั้งกว่าจะเป็นตัวเต็มวัย ชั้นที่สำคัญได้แก่
** [[ชั้นแบรงคิโอโพดา]] เช่น[[ไรน้ำ]] [[ไรแดง]] [[ไรสีน้ำตาล]]
** [[ชั้นโคพีโพดา]] เช่น[[เหาปลา]]
** [[ชั้นเซอร์ริพีเดีย]] เช่น [[เพรียงคอห่าน]] [[เพรียงหิน]]
** [[ชั้นมาลาคอสตรากา]] เช่น[[กุ้งก้ามกราม]] [[กั้งตักแตน]] [[กุ้งเต้น]] [[จักจั่นทะเล]] [[ปูม้า]]
* ไฟลัมย่อย[[ยูนิราเมีย]] มีระยางค์ซึ่งไม่มีแขนง มีแอนเทนนาคู่เดียว กรามไม่แบ่งเป็นปล้อง แบ่งเป็น
** [[ชั้นไคโลโพดา]] เช่น[[ตะขาบ]]
** [[ชั้นซิมไฟลา]] เช่น [[ตะขาบฝอย]]
** [[ชั้นดิโพลโพดา]] เช่น [[กิ้งกือ]] [[กิ้งกือกระสุน]]
** [[ชั้นปัวโรโพดา]] ลักษณะโดยทั่วไปคล้ายชั้นซิมไฟลา
** [[ชั้นอินเซคตา]] ได้แก่ [[แมลง]]
==อ้างอิง==
{{โครงสัตว์}}
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:สัตว์ขาปล้อง| ]]