ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Akemaserati (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Akemaserati (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
ด้วย เหตุนี้ พระองค์จึงทรงดำริให้ ไพร่มีหน้าที่ ต่อราชการ เท่าเทียมกัน โดยให้มีการแลกตัวเลก ซึ่งจะให้มีฐานะเสมอกัน (ตัวเลกหมายถึงไพร่) โดยขณะนั้น พระยาราชสุภาวดี สมุหพระสุรัสวดี ทำหน้าที่ ดูแลกรมพระสุรัสวดี ซึ่งเป็นเพียงกรมเล็กๆ ที่มีหน้าที่สักเลก ในเขตความรับผิดชอบเท่านั้น (งานสักเลก เป็นงานหลัก ของกรมมหาดไทย ,กรมพระกลาโหม และกรมท่า) ในปี พ.ศ. 2417 จึงมีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยาราชสุภาวดี เจ้ากรมพระสุรัสวดีเป็น "เจ้าพระยามหินทรศักดิธำรง สกูลวงศ์อรเอกดิเรกยศ มธุรพจนสุนทรธรรมยุติยานุวัติ บุรุษรัตนทุวาธิราชนิกรวรยุคลบาท บรมนาถสวามิภักดิสนิท วิสิฐคุณศรีรัตนธาดา อภัยพิริยบรากรมพาหุ" เท่าเทียมกับ[[สมุหนายก]] [[สมุหพระกลาโหม]] และกรมท่า เพื่อให้มีอำนาจ ในการจัดระเบียบ การควบคุมกำลังคน และการสักเลกมากกว่าเดิม รวมทั้งการเกณฑ์ไพร่ มาทำราชการ ในกรณีพิเศษ เช่น การปราบปรามโจรผู้ร้าย การปราบกบฎ เป็นต้น
 
ต่อ มาในปี พ.ศ.2418 เกิดการชุมนุม ของพวกฮ่อ (ชาวจีนอพยพ เข้ามาทำมาหากิน ในภาคเหนือ ของประเทศไทย) ที่ทุ่งเชียงคำ เพื่อหมายจะตีเมืองหลวงพระบาง ทางการ จึงจัดกำลังเข้าปราบปราม โดยแบ่งเป็น 4 กอง ซึ่งหนึ่งในนั้น มีกองทัพของ เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง เป็นแม่ทัพ และยกกำลัง มาจากกรุงเทพฯ ไปหนองคาย โดยสามารถ ปราบปราม[[พวกฮ่อ]] ให้ล่าถอยไปได้
'''นิราศหนองคาย'''
 
[[ไฟล์:นิราศหนองคาย.jpg‎]] [[ไฟล์:ยกทัพปราบฮ่อ.jpg]]
กองทัพที่เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) เป็นแม่ทัพ ยกกำลังจากกรุงเทพ ฯ ไปยังหนองคาย
นิราศหนองคายเป็นวรรณกรรมยุคต้นรัตนโกสินทร์ ในปี พ.ศ.2418 บันทึกประวัติศาสตร์การยกทัพ
การเกณฑ์ทัพ การพักพล รวมทั้งเส้นทางระหว่างเดินทัพจากกรุงเทพ เพือปราบการชุมนุม ของพวกฮ่อ
(ชาวจีนอพยพ เข้ามาทำมาหากิน ในภาคเหนือ ของประเทศไทย) ที่ทุ่งเชียงคำ เพื่อหมายจะตีเมืองหลวงพระบาง
ทางการ จึงจัดกำลังเข้าปราบปราม โดยแบ่งเป็น 4 กอง ซึ่งหนึ่งในนั้น มีกองทัพของ เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง(เพ็ง เพ็ญกุล)
เป็นแม่ทัพ และยกกำลัง มาจากกรุงเทพฯ ไปหนองคาย โดยสามารถ ปราบปราม[[พวกฮ่อ]] ให้ล่าถอยไปได้