ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บรรเจิด สิงคะเนติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ชีวประวัติ
| ชื่อตัว = '''ศ.ดร.บรรเจิด สิงตะเนติ'''
| ชื่อภาพ = banjert.jpg
| วันเกิด =
| วันตาย =
| คำบรรยายภาพ = ภาพในงานเสวนา "การเมืองหลังระบอบทักษิณ" 2 พฤษภาคม 2549
| ที่เกิด =
| ที่ตาย =
| งาน-อาชีพ = คณบดี [[คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]]
| สัญชาติ = [[ไทย]]
| เชื้อชาติ = [[ไทย]]
| ผลงาน = ดูในบทความ
| วุฒิสูงสุด = Dr.jur (Doktor der Rechte)
| เกียรติประวัติ =
}}
'''ศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ''' [[คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย|กรรมการปฏิรูปกฎหมาย]] อดีตผู้อำนวยการศูนย์นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการพิจารณาแนวทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ตามข้อเสนอของคณะกรรมการสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปการเมือง และศึกษาการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน [[คตส.]] ตามประกาศ[[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] ฉบับที่ 30 เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2549 ปัจจุบันเป็นคณบดี คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ต่อมาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2554 ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย<ref>[http://thaireform.in.th/news-highlight/item/5635-2011-04-07-12-42-19.html เลือก 'คณิต' นั่งกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ตามโผ]</ref>
 
== คุณวุฒิ ==
ศ.ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ จบปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงในปี พ.ศ. 2527,เนติบัณฑิตไทย,ปริญญาโทด้านกฎหมายมหาชน จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลังจากนั้นได้ทุนของรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ไปศึกษาปริญญาโท (Magister Lugum) และสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2538 จากมหาวิทยาลัย Bochum และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก (Doktor der Rechte-Dr.jur) ในปี พ.ศ. 2541 จากมหาวิทยาลัยเดียวกัน
บรรทัด 25:
# "วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญไทยเปรียบเทียบกับศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน" ,ศาลรัฐธรรมนูญไทย อดีต ปัจจุบัน อนาคต , สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, กรุงเทพฯ 2543 ,หน้า 33-65
# "วิเคราะห์ปัญหาเรื่องขอบเขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ" , วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 17 ตอน 1 (เมษายน 2541) หน้า 157-166
# "หลักประกันสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่" ,วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 17 ตอน 2 (สิงหาคม 2542) หน้า 30-65
# บรรเจิด สิงคะเนติ ,และ สมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์ , "หลักความได้สัดส่วนตามหลักกฎหมายของเยอรมันและฝรั่งเศส" ,วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่ม 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2542) หน้า 40-70
# "เงื่อนไขการพิจารณาคดีปกครองเยอรมัน" ,วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2542) หน้า 277-299
# บรรเจิด สิงคะเนติ ,และ สมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์ , "ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540" ,วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 19 ตอน 1 (เมษายน 2543) หน้า 1-10
# "ข้อพิจารณาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องของหน่วยงานของรัฐในการฟ้องโต้แย้งคำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร" วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 19 ตอน 1 (เมษายน 2543) หน้า 11-19
# "กระบวนการรับฟ้องความคิดเห็นสาธารณะหรือกระบวนการกำหนดแผนงาน (das Plafeststellungsverfahren) ตามกฎหมายเยอรมัน" , รพี 43 ,คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ,หน้า 86-96
# "หลักการพื้นฐานของสิทธิและเสรีภาพ" ,นิติสยามปริทัศน์'43 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ,หน้า 60-82
# สมคิด เลิศไพฑูรย์ ,บรรเจิด สิงคะเนติ ,เขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญไทยตามมาตรา 264 และมาตรา 266 ,ศาลรัฐธรรมนูญไทย อดีต ปัจจุบัน อนาคต , สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, กรุงเทพฯ 2543
บรรทัด 43:
# สิทธิขั้นพื้นฐานทางสังคม วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 3 เล่ม 9 (กันยายน-ธันวาคม ,2544)
# ปัญหาขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ - วารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (ก.ย. – ธ.ค. ) ,2544.
# หลักการแสวงหาความจริงโดยศาล (Untersuchungsgrundsatz) ของรัฐธรรมนูญเยอรมัน วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน) 2545.
# การฟ้องโต้แย้งคำสั่งทางปกครองตามกฎหมายเยอรมัน - อาจาริยบูชา รวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 72 ปี ศาสตราจารย์ ดร.อมร จันทรสมบูรณ์ , สมาคมกฎหมายมหาชนแห่งประเทศไทย , 2545.
# วิเคราะห์ คำวินิจฉัยของศาลปกครอง เรื่อง ขอให้เพิกถอนมติที่ประชุมคณะกรรมการองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย เกี่ยวกับการตัดสายเชื่อมโยงข่ายโทรคมนาคม (คำสั่งที่ 645/2545) - www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 15 กรกฎาคม 2545.
บรรทัด 51:
# ทำไมพระราชกำหนดในการแปรสัญญาโทรคมนาคมจึงไม่เป็นไปตามมาตรา 218 วรรคหนึ่งของรัฐธรรมนูญ,www.pub-law.net , 31 มีนาคม 2546.
# หลักการแสวงหาความจริงโดยศาลในคดีปกครองของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี , วารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2545.
 
 
=== หนังสือ ===
เส้น 62 ⟶ 61:
# หลักความเสมอภาค สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540) : สถาบันพระปกเกล้า , 2544
# หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540) : สถาบันพระปกเกล้า , 2544
# หลักพื้นฐานสิทธิ เสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญใหม่ - กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน ,2543. 10. เอกสารประกอบการพิจารณากฎหมายของสมาชิกรัฐสภา เล่มที่ 5 เรื่องพระราช บัญญัติประชาพิจารณ์ : กรณีศึกษากระบวนการพิจารณาโครงการ (Planfestellungsnerfahren) ตามกฎหมายของประเทศเยอรมันนีเยอรมนี. สถาบันพระปกเกล้า , 2545.
# เอกสารประกอบการพิจารณากฎหมายของสมาชิกรัฐสภา เล่มที่ 6 เรื่องพระราช บัญญัติประชาพิจารณ์ : ศึกษากรณีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (Enquête publique) ตามกฎหมายของประเทศฝรั่งเศส. สถาบันพระปกเกล้า , 2545. (แต่งร่วมกับ สมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์)
# ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคดีปกครองเยอรมัน,โครงการตำรามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2547.
# หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครอง,กรุงเทพมหานคร:วิญญูชน,2551.
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:คตส.]]