ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระวรสารนักบุญยอห์น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5.2) (โรบอต เพิ่ม: vep:Evangelii Joannan mödhe
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
:'''พระวรสารนักบุญยอห์น''' ({{lang-en|Gospel of John}}; [[ภาษากรีก]]: Κατά Ιωαννην, “Kata Iōannēn”) เป็น[[พระวรสาร]]ฉบับที่สี่ของ “[[พระวรสาร|สังฆวรสารวรสารในสารบบ]] ” (Canonical gospels) ซึ่งเป็นเอกสารส่วนหนึ่งของ ใน[[คัมภีร์ไบเบิล]]ภาค[[พันธสัญญาใหม่]] (New Testament) แต่มิได้เป็นส่วนหนึ่งของ[[พระวรสารสหทรรศน์]] สามฉบับซึ่งประกอบด้วย[[พระวรสารนักบุญมาระโก]] [[พระวรสารนักบุญลูกา]] และ [[พระวรสารนักบุญมัทธิว]]
 
:'''พระวรสารนักบุญยอห์น''' เป็น[[พระวรสาร]]ที่เชื่อกันว่าเขียนโดย[[อัครสาวกยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร]] (ชาวคริสต์เชื่อว่าเป็นท่านเดียวกับ[[John the Evangelistยอห์นอัครทูต]]) "สาวกที่พระองค์ทรงรัก" (john 13:23 ''One of his disciples, whom Jesus loved, was reclining at table close to Jesus,'') ผู้ซึ่งรู้วิถีชีวิตของชาวยิวเป็นอย่างดี และได้อ้างถึงขนบธรรมเนียมของชาวยิวอยู่หลายบทใน[[พระวรสาร]]เล่มนี้ [[อัครสาวกยอห์น]] เป็นอัครทูตแห่งความรัก ไม่มีใครบรรยายถึงพระลักษณะของพระเจ้าได้อย่าง[[อัครสาวกยอห์น]] เช่น "เพราะว่าพระเจ้าทรงรักโลก จนได้ทรงประทานพระบุตรองค์เดียวของพระองค์ เพื่อทุกคนที่วางใจในพระบุตรนั้นจะไม่พินาศ แต่มีชีวิตนิรันดร์"<ref>ยอห์น 3:16</ref> กับอีกหลายเหตุการณ์ที่[[อัครสาวกยอห์น]]บรรยายถึงยอห์นบรรยายถึง[[พระเยซู]]ได้อย่างจับใจ แสดงว่าเรื่องราวต่างๆถูกบันทึกจากความทรงจำที่ได้เห็นมากับตา [[พระวรสาร]]เล่มนี้น่าจะถูกเขียนขึ้นประมาณปีค.ศ.85 หรือหลังจากนั้นเล็กน้อย
 
 
:'''พระวรสารนักบุญยอห์น''' เป็น[[พระวรสาร]]ที่เชื่อกันว่าเขียนโดย[[อัครสาวกยอห์น]] ([[John the Evangelist]]) "สาวกที่พระองค์ทรงรัก" (john 13:23 ''One of his disciples, whom Jesus loved, was reclining at table close to Jesus,'') ผู้ซึ่งรู้วิถีชีวิตของชาวยิวเป็นอย่างดี และได้อ้างถึงขนบธรรมเนียมของชาวยิวอยู่หลายบทใน[[พระวรสาร]]เล่มนี้ [[อัครสาวกยอห์น]] เป็นอัครทูตแห่งความรัก ไม่มีใครบรรยายถึงพระลักษณะของพระเจ้าได้อย่าง[[อัครสาวกยอห์น]] เช่น "เพราะว่าพระเจ้าทรงรักโลก จนได้ทรงประทานพระบุตรองค์เดียวของพระองค์ เพื่อทุกคนที่วางใจในพระบุตรนั้นจะไม่พินาศ แต่มีชีวิตนิรันดร์"<ref>ยอห์น 3:16</ref> กับอีกหลายเหตุการณ์ที่[[อัครสาวกยอห์น]]บรรยายถึง[[พระเยซู]]ได้อย่างจับใจ แสดงว่าเรื่องราวต่างๆถูกบันทึกจากความทรงจำที่ได้เห็นมากับตา [[พระวรสาร]]เล่มนี้น่าจะถูกเขียนขึ้นประมาณปีค.ศ.85 หรือหลังจากนั้นเล็กน้อย
 
<p></p>
<p></p>
เช่นเดียวกับ[[พระวรสาร]]อีกสามฉบับที่เล่าเรื่องชีวิตของ[[พระเยซูคริสต์]] แต่บางเหตุการณ์มีการตีความอย่างละเอียด '''พระวรสารนักบุญยอห์น'''เป็น[[พระวรสาร]]ของ “ความเชื่อ”{{Fact|date=January 2008}} ที่เขียนขึ้นเพื่อจะยืนยันกับผู้อ่านว่า[[พระเยซู]]เป็น “[[พระ​เมส​สิ​ยาห์​]]” และเป็น “พระบุตรของพระเป็นเจ้า” ดังที่ปรากฏอยู่ใน[[พระวรสาร]]ว่า "แต่การที่ได้บันทึกเหตุการณ์เหล่านี้ไว้ ก็เพื่อท่านทั้งหลายจะได้เชื่อว่า [[พระเยซู]]ทรงเป็นพระคริสต์ พระบุตรของพระเจ้า และเมื่อมีความเชื่อแล้ว ท่านก็จะมีชีวิตโดยพระนามของพระองค์"<ref>ยอห์น 20:31</ref> *คือการเข้าอาศัยอยู่ในพระเยซูคริสต์ รักษาชีวิตให้บริสุทธิ์ดั่งพระองค์ เชื่อและปฏิบัติตามคำสั่ง และคำสอนของพระองค์
 
ในแง่ของ[[คริสต์ศาสนวิทยาเทววิทยาคริสเตียน]]แล้ว '''พระวรสารนักบุญยอห์น'''เป็นฉบับที่มีน้ำหนักที่สุดที่เกี่ยวกับพระเจ้าและพระบุตรในทาง[[คริสตวิทยา]] (Christology) ซึ่งบรรยายพระองค์พระเยซูพระบุตรของพระเจ้าว่าเป็น “Logos”[[พระวจนะ|พระวจนะ]]” (Logos)(ภาษากรีกหมายความว่า “คำ” “เหตุผล” “ความเป็นเหตุเป็นผล” “ภาษา” หรือ “โอวาท”) ผู้เป็น “Arche” (ภาษากรีกหมายความว่า “ผู้เป็นตัวตนมาตั้งแต่ต้น” หรือ “เป็นสิ่งที่สุดของทุกอย่าง”), กล่าวถึงความเป็นผู้ที่มาช่วยมวลมนุษย์ และประกาศพระองค์ว่าเป็นพระเจ้า<ref>A detailed technical discussion can be found in Raymond E. Brown, "Does the New Testament call Jesus God?" ''Theological Studies'' 26 (1965): 545–73</ref>
<p></p>
<p></p>
ในแง่ของ[[คริสต์ศาสนวิทยา]]แล้ว '''พระวรสารนักบุญยอห์น'''เป็นฉบับที่มีน้ำหนักที่สุดที่เกี่ยวกับพระเจ้าและพระบุตร (Christology) ซึ่งบรรยายพระองค์ว่าเป็น “Logos” (ภาษากรีกหมายความว่า “คำ” “เหตุผล” “ความเป็นเหตุเป็นผล” “ภาษา” หรือ “โอวาท”) ผู้เป็น “Arche” (ภาษากรีกหมายความว่า “ผู้เป็นตัวตนมาตั้งแต่ต้น” หรือ “เป็นสิ่งที่สุดของทุกอย่าง”), กล่าวถึงความเป็นผู้ที่มาช่วยมวลมนุษย์ และประกาศพระองค์ว่าเป็นพระเจ้า<ref>A detailed technical discussion can be found in Raymond E. Brown, "Does the New Testament call Jesus God?" ''Theological Studies'' 26 (1965): 545–73</ref>
 
<p>&nbsp;</p>