ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์กวางชะมด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
FoxBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: ga:Muscfhia
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
| ordo = [[สัตว์กีบคู่]] ([[Artiodactyla]])
| subordo = [[สัตว์เคี้ยวเอื้อง]] ([[Ruminantia]])
| familia = '''วงศ์กวางชะมด ([[Moschidae]]) '''
| familia_authority = [[John Edward Gray|Gray]], [[ค.ศ. 1821|1821]]
| genus = '''''[[Moschus]]'''''
| genus_authority = ([[ลินเนียส|Linnaeus]], [[ค.ศ. 1758|1758]])
| subdivision_ranks = [[species|ชนิด]]<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt จาก ITIS.gov {{en}}]</ref>
| subdivision_ranks = สปีซีส์
| subdivision =
* ''[[Moschus moschiferus]]''<br />
บรรทัด 24:
* ''[[Moschus leucogaster]]''<br />
}}
'''กวางชะมด''' ({{lang-en|Musk deer}}) เป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]จำพวก[[สัตว์เคี้ยวเอื้อง]]ใน[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]] Moschidae และ[[genus|สกุล]] ''Moschus''
[[ไฟล์: Porte musc perspective 5.jpg|thumb|upright 1.2|กะโหลกศีรษะ]]
 
กวางชะมดมีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับ[[กวาง]] (Cervidae) แต่ไม่จัดว่าเป็นกวาง กวางชะมดไม่มีเขาและมีขนาดเล็กกว่า มีทั้งสิ้น 7 [[species|ชนิด]] คือ
'''กวางชะมด''' (ชื่อสามัญ: musk deer; [[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: Moschidae) เป็น[[วงศ์ทางชีววิทยา]]ของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ในอันดับ[[สัตว์กีบคู่]] (อันดับย่อย[[สัตว์เคี้ยวเอื้อง]]) ตัวคล้าย[[กวาง|กวางแท้]] แต่มีขนาดเล็กกว่าและไม่มีเขา
 
* ''[[Moschus moschiferus]]'' (กวางชะมดไซบีเรีย)
ในวงศ์กวางชะมดมีเพียงสกุลเดียว คือสกุลกวางชะมด (ชื่อสามัญ: ; [[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: ''Moschus'')
* ''[[Moschus chrysogaster]]'' (กวางชะมดเขาสูง)
* ''[[Moschus fuscus]]'' (กวางชะมดดำ)
* ''[[Moschus berezovskii]]'' (กวางชะมดป่า)
* ''[[Moschus anhuiensis]]'' (กวางชะมดอันฮุย)
* ''[[Moschus cupreus]]'' (กวางชะมดแคชเมียร์)
* ''[[Moschus leucogaster]]'' (กวางชะมดหิมาลัย)
 
กวางชะมดโดยรวมแล้ว มีความยาวประมาณ 1 [[เมตร]] มีความสูงถึงหัวไหล่ประมาณ 50-60 [[เซนติเมตร]] แต่บริเวณสะโพกจะสูงกว่าหัวไหล่อีกประมาณ 5 เซนติเมตร [[น้ำหนัก]]เมื่อโตเต็มที่ประมาณ 9-11 [[กิโลกรัม]] มีจุดเด่น คือ มีเขี้ยวออกมาจากริมฝีปากประมาณ 7.5 เซนติเมตร [[ตัวผู้]]จะมีต่อมผลิตกลิ่นคล้ายกับกลิ่นของ[[ชะมด]] (Viverridae) ซึ่งมีไว้เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารกับ[[ตัวเมีย]] ที่บริเวณระหว่าง[[สะดือ]]กับ[[อวัยวะเพศชาย|อวัยวะสืบพันธุ์]] และยังมี[[ถุงน้ำดี]]อีกด้วย
กวางชะมดไม่พบใน[[ประเทศไทย]] แต่มีนำสปีซีส์กวางชะมดป่ามาเลี้ยง
 
กวางชะมดป่า อาศัยอยู่ลำพังตัวเดียวใน[[ป่า]][[ที่ราบสูง]]ในระดับ 2,600-3,600 เมตร จาก[[ระดับน้ำทะเล]] ใน[[เอเชียกลาง|ทวีปเอเชียตอนกลาง]]และ[[เอเชียตะวันออก]] ออกหากินในเวลาเช้าและเย็น นอนหลับพักผ่อนในเวลา[[กลางวัน]] ตกลูกครั้งละ 1 ตัว เมื่อสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 1 ปี
ในสกุลกวางชะมดมี[[สปีซีส์]]ดังต่อไปนี้
 
* ''Moschus moschiferus'' (กวางชะมดไซบีเรีย)
กวางชะมดป่า เป็นสัตว์ที่มนุษย์ใช้กลิ่นจากการผลิตของตัวผู้เช่นเดียวกับชะมด เรียกว่า "ชะมดเชียง" ในเชิง[[สมุนไพร]]และผลิตเครื่องหอม บางชนิดมีการเลี้ยงเป็น[[สัตว์เศรษฐกิจ]] ซึ่งตัวผู้จะผลิตสารนี้ได้ตัวประมาณ 28 [[กรัม]] และจะผลิตได้เมื่อมีอายุ 3 ปี หรือมากกว่า<ref>[http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=92&i2=5 [[จารุจินต์ นภีตะภัฏ]], ''กวางชะมด'']</ref>
* ''Moschus chrysogaster'' (กวางชะมดเขาสูง)
 
* ''Moschus fuscus'' (กวางชะมดดำ)
==อ้างอิง==
* ''Moschus berezovskii'' (กวางชะมดป่า)
{{รายการอ้างอิง}}
* ''Moschus anhuiensis'' (กวางชะมดอันฮุย)
* ''Moschus cupreus'' (กวางชะมดแคชเมียร์)
* ''Moschus leucogaster'' (กวางชะมดหิมาลัย)
 
{{คอมมอนส์|Category:Moschus}}
 
 
{{โครงสัตว์}}
 
[[หมวดหมู่:กวาง]]
เส้น 49 ⟶ 53:
[[หมวดหมู่:สัตว์เคี้ยวเอื้อง]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ที่พบในประเทศปากีสถาน]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ที่พบในประเทศจีน]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ที่พบในประเทศอินเดีย]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ที่พบในประเทศเวียดนาม]]
 
[[ar:غزال المسك]]