ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลัก 6 ประการของคณะราษฎร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่น่าจะเรียกว่าย่อนะ ยาวขนาดนี้
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
 
{{เว็บย่อ|khana ratsadon 6 pillars}}
[[ไฟล์:Ayutthaya-cityhall.jpg|thumb|right|300px|ศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถาปัตยกรรมแบบคณะราษฎร มีเสาใหญ่หกเสาด้านหน้า ซึ่งอ้างอิงถึงหลักหกประการของคณะราษฎร]]
 
บรรทัด 9:
โดยในทางสถาปัตยกรรมนั้น เช่นที่พบในรูปแบบของเสา 6 ต้นในอาคารหรือซุ้มต่าง ๆ [[บัวกลุ่ม]] 6 ชั้นที่[[เจดีย์]][[วัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน]] (ต่างจากการทำบัวกลุ่มของเจดีย์ตามประเพณี ที่ต้องเป็นเลขคี่เพื่อให้เป็นมงคล)<ref name="Prachatai">[[ประชาไท]], [http://prachatai.com/journal/2007/09/14218 ชาตรี ประกิตนนทการ : สถาปัตย์คณะราษฎร บนพื้นที่ศักดิ์สิทธิแห่งสมบูรณาญาสิทธิราชย์], 19 กันยายน พ.ศ. 2550</ref> หรือการออกแบบป้อมกลางของ[[อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย]]ให้มีประตู 6 ช่องและ[[พระขรรค์]] 6 เล่ม<ref name="victory-monument" /><ref name="Chatri">[[ชาตรี ประกิตนนทการ]], [http://www.sameskybooks.org/upload/file/17-276chatreep90-111.pdf ศิลปะคณะราษฎร], [[วารสารฟ้าเดียวกัน]], ปีที่ 5 ฉบับที่ 1, "75 ปี หลัง 2475 การเดินทางเพื่อกลับไปที่เดิม ?"</ref>
 
ในทางศิลปกรรมนั้น เช่นที่พบในงานประติมากรรมชื่อ ''เลี้ยงช้างน้อยด้วยอ้อยหก'' ของ [[ผิว ทิมสา]] ที่เป็นรูปแม่ช้างเอางวงรัดอ้อย 6 ท่อนอยู่ โดยมีลูกช้างหลายตัวอยู่รอบ ๆ สื่อถึงประเทศไทยที่จะเติบโตขึ้นด้วยหลัก 6 ประการหรือรูปปั้น ''หลักหกยกสยาม'' โดย [[อินตา ศิริงาม]] ซึ่งทั้งสองชิ้นนี้ ได้รับรางวัลใน "การประกวดประณีตศิลปกรรม" [[พ.ศ. 2480]] ซึ่งจัดขึ้นใน[[งานฉลองรัฐธรรมนูญ]]<ref name="Chatri" /> ''ดูเพิ่มที่ [[ศิลปะคณะราษฎร]]''
หรือรูปปั้น ''หลักหกยกสยาม'' โดย [[อินตา ศิริงาม]] ซึ่งทั้งสองชิ้นนี้ ได้รับรางวัลใน "การประกวดประณีตศิลปกรรม" [[พ.ศ. 2480]] ซึ่งจัดขึ้นใน[[งานฉลองรัฐธรรมนูญ]]<ref name="Chatri" /> ''ดูเพิ่มที่ [[ศิลปะคณะราษฎร]]''
 
ส่วนในรัฐพิธีสมัยนั้น ก็นิยมการประดับธง 6 ผืนพร้อมกับประดับ[[พานรัฐธรรมนูญ]] หรือสิ่งอื่นใดที่จะสื่อถึง[[รัฐธรรมนูญ]]และหลัก 6 ประการ<ref name="Prachatai" />