ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลัก 6 ประการของคณะราษฎร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
M-Bot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำอัตโนมัติ (-[[ภาพ: +[[ไฟล์:) ด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Ayutthaya-cityhall.jpg|thumb|right|300px|ศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถาปัตยกรรมแบบคณะราษฎร มีเสาใหญ่หกเสาด้านหน้า ซึ่งอ้างอิงถึงหลักหกประการของคณะราษฎร]]
 
'''หลัก 6 ประการของคณะราษฎร''' ปรากฏอยู่ใน[[s:ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ ๑|ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ ๑]]<ref name="khana-ratsadon">[[คณะราษฎร]], [[s:ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ ๑|ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ ๑]], วิกิซอร์ซ</ref> และถือเป็นนโนบายของ[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 1|คณะกรรมการราษฎรชุดแรก]]ใน[[ระบอบประชาธิปไตย]]ของ[[ประเทศสยาม]] ซึ่งนำโดย[[พระยามโนปกรณ์นิติธาดา]] คณะกรรมการราษฎรคณะนี้ ไม่มีการแถลงนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินต่อสภาแต่ได้ถือเอาหลัก 6 ประการของคณะราษฎรที่ได้ให้สมาชิกสภาปฏิญาณตนต่อสภาก่อนเข้ารับหน้าที่นั้นเป็นนโยบายของรัฐบาล
 
หลัก 6 ประการของคณะราษฎรซึ่งสรุปคำใจความหลักได้ว่า ''"เอกราช ปลอดภัย เศรษฐกิจ เสมอภาค เสรีภาพ การศึกษา"''<ref name="victory-monument">เด็กชายก้อง, [http://news.sanook.com/politic/politic_206850.php อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย], มติชน, 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550. อ้างผ่าน news.sanook.com.</ref> นี้ ได้ถูกอ้างอิงหลายครั้งในงาน[[สถาปัตยกรรม]] [[ศิลปกรรม]] และ[[รัฐพิธี]]ในสมัยนั้น
 
โดยในทางสถาปัตยกรรมนั้น เช่นที่พบในรูปแบบของเสา 6 ต้นในอาคารหรือซุ้มต่าง ๆ [[บัวกลุ่ม]] 6 ชั้นที่[[เจดีย์]][[วัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน]] (ต่างจากการทำบัวกลุ่มของเจดีย์ตามประเพณี ที่ต้องเป็นเลขคี่เพื่อให้เป็นมงคล)<ref name="Prachatai">[[ประชาไท]], [http://prachatai.com/05webjournal/th2007/home09/page2.php?mod=mod_ptcms&ContentID=9615&SystemModuleKey=HilightNews&System_Session_Language=Thai14218 ชาตรี ประกิตนนทการ : สถาปัตย์คณะราษฎร บนพื้นที่ศักดิ์สิทธิแห่งสมบูรณาญาสิทธิราชย์], 19 กันยายน พ.ศ. 2550</ref> หรือการออกแบบป้อมกลางของ[[อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย]]ให้มีประตู 6 ช่องและ[[พระขรรค์]] 6 เล่ม<ref name="victory-monument" /><ref name="Chatri">[[ชาตรี ประกิตนนทการ]], [http://www.sameskybooks.org/upload/file/17-276chatreep90-111.pdf ศิลปะคณะราษฎร], [[วารสารฟ้าเดียวกัน]], ปีที่ 5 ฉบับที่ 1, "75 ปี หลัง 2475 การเดินทางเพื่อกลับไปที่เดิม ?"</ref>
 
ในทางศิลปกรรมนั้น เช่นที่พบในงานประติมากรรมชื่อ ''เลี้ยงช้างน้อยด้วยอ้อยหก'' ของ [[ผิว ทิมสา]] ที่เป็นรูปแม่ช้างเอางวงรัดอ้อย 6 ท่อนอยู่ โดยมีลูกช้างหลายตัวอยู่รอบ ๆ สื่อถึงประเทศไทยที่จะเติบโตขึ้นด้วยหลัก 6 ประการ
บรรทัด 16:
== เนื้อหา ==
 
หลัก 6 ประการสามารถประมวลได้ดังนี้<ref>ปรีดี พนมยงค์, ชีวประวัติย่อของนายปรีดี พนมยงค์, สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก, 2544, หน้า 28name="khana-29,ratsadon" ISBN 974-7834-15-4</ref>
# จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชในบ้านเมือง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศไว้ให้มั่นคง
# จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มาก
# จะต้องบำรุงความสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจไทย โดยรัฐบาลใหม่ จะพยายามจัดหางานให้ราษฎรทำโดยเต็มความสามารถ จะร่างวาง[[โครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ]] ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก
# จะต้องให้ราษฎรได้มีสิทธิเสมอภาคกัน (ไม่ใช่ให้พวกเจ้ามีสิทธิยิ่งกว่าราษฎรเช่นที่เป็นอยู่)
# จะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสสระอิสระ เมื่อเสรีภาพนี้ไม่ขัดต่อหลัก 4 ประการ ดังกล่าวแล้วข้างต้น
# จะต้องให้มีการให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร
 
== หลัก 6 ประการของคณะราษฎรในปัจจุบัน ==