ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤๅษี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MastiBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: sl:Riši
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
'''ฤๅษี''' หรือ '''ฤษี''' ([[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]]: ṛṣi; [[เทวนาครี]]: ऋषि) หมายความว่า ผู้แต่งพระเวท หรือผู้เห็น
'''ฤๅษี''' หรือ '''ฤษี''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: rishi, [[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]]:ऋषि , [[ภาษาบาลี|บาลี]]:อิสิ) คือคำเรียกบุคคลที่อยู่อย่างสันโดษและห่างไกลจาก[[สังคม]] ทัศนคติของฤๅษีมีให้เห็นใน[[วรรณคดีไทย]]หลายเรื่อง อาทิ [[พระอภัยมณี]] [[จันทโครพ]] ในลักษณะเป็นชายชราผอม มวยผมสีขาว หนวดเครายาวสีขาว นุ่งห่มหนังสัตว์อย่างหนัง[[เสือ]]หรือ[[กวาง]]ที่ตายแล้ว คล้อง[[ลูกประคำ]] สวม[[งอบ]]บนศีรษะ ถือ[[ไม้เท้า]]ที่หงิกงอ ถือ[[ศีล]]บำเพ็ญ[[ตบะ]] มี[[วิชา]]อาคมเก่งกล้า และมักอาศัยอยู่ตาม[[ป่า]]ลึก ที่อยู่อาศัยของฤๅษีเรียกว่า '''อาศรม''' (อ่านว่า อา-สม)
 
ฤษีเป็นนักบวชพวกหนึ่ง มีมาก่อนพุทธกาล สละบ้านเรือนออกไปบําเพ็ญพรตแสวงหาความสงบ และเดิมมักเป็นหญิง ซึ่งเรียก "ฤษิก" (rishika)<ref>Swami [[Vivekananda]] public lecture, Vedanta Voice of Freedom, ISBN 0-91635663-9, p.43</ref> ตามความในคัมภีร์สารวนุกรมนี (Sarvanukramani) ในบรรดาผู้แต่ง[[ฤคเวท]]นั้น เป็นฤษีหญิงถึงยี่สิบคน
จำนวนฤๅษีบำเพ็ญตนมีมากถึงขั้นพระบรมครู ร้อยแปด แต่มีฤๅษีอีกมากบำเพ็ญตนไม่ขึ้นขั้นอยู่ระหว่างใกล้สำเร็จผลบุญเพียร และถ้าถึงขั้นแล้วปราศจากของบริโภคทั้งปวง การเข้าในหลักธรรมเช่นเดียวกัน แต่ถือศีลแปด สูงกว่าคนะรรมดา 3 ข้อ แค่ 5 ข้อทั้งชีวิตคนเราส่วนใหญ่แล้วถือกันไม่ถึงการบำเพ็ญตนลดการสัมผัส กลิ่น รูป รสชาติ การยึดติด ลุ่มหลง งมง่าย ไม่เป็นการเบียดเบียนตน หาของพอรับประทานกันร่างกายทรมาน โดยเสยอาหารเป็นประเภทไม่มีเนื้อสัตว์ทั้งปวง เสยของสดๆ ผลไม้ พัก ไม่ปล่อยให้เน่าเสียเอาแต่พอเสย ในแต่ละมื้อ บางท่านมื้อเดียวบำเพ็ญได้เป็นพรรษา ฤๅรักษาตนด้วยน้ำล้างร่างกายไม่เสยน้ำมีสีกลิ่นรสทุกประเภท น้ำเปล่ามีส่วนทำให้ร่างสมบูรณ์ได้อย่างดีเป็นธรรมชาติที่สุดโรคร้ายใดๆจึงไม่มีในฤๅษีทุกองค์
 
{{ต้องการ== อ้างอิง}} ==
{{reflist}}
 
== ดูเพิ่ม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฤๅษี"