ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดินีมาเรีย เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (โซฟี โดโรเทอาแห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ทรงเป็นพระ" → "เป็นพระ" +แทนที่ "ทรงมีพระ" → "มีพระ" +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ขาดกล่องข้อมูล}}{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Вуаль Жан Луи - Портрет великой княгини Марии Фёдоровны.jpg|thumb|210px|พระจักรพรรดิมาเรีย เฟโอโดรอฟนา]]
'''จักรพรรดินีมาเรีย เฟโอโดรอฟนแห่งรัสเซีย''' ({{lang-ru|'''Мари́я Фёдоровна'''}}) พระอิสริยยศเดิม '''เจ้าหญิงโซฟี โดโรเธียแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก''' (''พระนามเต็ม'' โซฟี โดโรเธีย ออกัสตา หลุยซา; [[25 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2302]] - [[5 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2371]]) ทรงเป็นพระมเหสีองค์ที่สองใน[[ซาร์พอลล์ที่ 1 แห่งรัสเซีย]] และพระราชชนนีของ[[สมเด็จพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย|สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1]] และ [[สมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย]]{{commonscat|Maria Feodorovna (Sophie Dorothea of Württemberg)}}
 
== เจ้าหญิงแห่งเวือร์ทเทมเบิร์ก ==
มาเรีย เฟโอโดรอฟนาทรงประสูติในเมืองสเตติน ปรัสเซียเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2302 ทรงเป็นพระธิดาของ เฟรเดอริก ยูจีนแห่งวือร์ทเทมเบิร์ก และ โซเฟีย โดโรเธียแห่งบรันเดนบูร์ก-ชเวดต์ ทรงเป็นพระฺพระธิดาองค์โตในทั้งหมดแปดพระองค์ของครอบครัว ในปี พ.ศ. 2312 ขณะที่พระองค์ทรงมีพระชนมายุ 10 ชันษา ครอบครัวได้ย้ายที่ประทับไปอยู่ที่ปราสาทมองต์เบอลิอาร์ต ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของฟรานช์-กอมเต พระอนุชาของพระองค์ อเล็กซานเดอร์แห่งเวือร์ทเทมเบิร์กก็ประสูติที่นั่น มองต์เบอลิอาร์ดเป็นที่ประทับของเจ้านายสายเล็กแห่งเวืิอร์ทเทมเบิร์กเวือร์ทเทมเบิร์ก นอนจากนั้นยังเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมและสัญลักษณ์ทางปัญญาและทางการเมือง ส่วนพระตำหนักฤดูร้อนของครอบครัวอยู่ที่เมืองเอทูบส์ ซึ่งปัจจุบันอยู่ในฝรั่งเศส
 
การศึกษาของเจ้าหญิงโซฟีนั้นดีกว่าค่าเฉลี่ยของเวือร์ทเทมเบิร์ก ทรงได้รับการปลูกฝังให้รักศิลปะทุกชนิด ในขณะที่ทรงมีพระชนมายุสิบหกชันษา ทรงตรัสภาษาเยอรมัน ฝรั่งเศส อิตาเลียนและละติน เมื่อพระชนมายุสิบเจ็ดชันษา โซฟี โดโรเธียมีพระวรการที่สูง ร่างอวบ มีพระปรางสีแดงดอกกุหลาบ ทรงเป็นคนที่แข็งแกร่ง รอบคอบ อ่อนโยนและไร้เดียงสา ทรงพระภูษาแบบฝรั่งเศสที่ถูกปรับเปลี่ยนให้เรียบง่ายแบบชนชั้นกลางเยอรมัน ซึ่งมีผลจากความมีคุณธรรมในครอบครัวพระองค์
 
ในปี พ.ศ. 2316 โซฟี โดโรเธียทรงเป็นหนึ่งในกลุ่มเจ้าหญิงเยอรมันที่จะเป็นพระชายาของซาร์พอลที่ 1 ในอนาคต ขณะนั้นเจ้าหญิงโซฟี โดโรเธียยังมีพระชนมายุไม่เต็มสิบสี่ชันษา และเจ้าหญิงวิลเฮลมินา หลุยซาแห่งเฮสส์-ดาร์มสตัดช์ซึ่งมีพระชนมายุสูงกว่าได้รับเลือกแทน
บรรทัด 18:
| ตำแหน่ง = [[พระมเหสีในพระจักรพรรดิแห่งรัสเซีย|สมเด็จพระจักรพรรดินีมเหสีแห่งรัสเซีย]]<br />ใน [[สมเด็จพระเจ้าซาร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย|สมเด็จพระเจ้าซาร์พอลล์ที่ 1]]
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย|เจ้าหญิงโซฟีแห่งอันฮัลต์-แซร์บสต์]]<br /> (แคทเธอรีน อเล็กเซเยฟนา)
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[พระจักรพรรดินีเอลิซาเบธ อเล็กเซเยฟนาแห่งรัสเซีย (เจ้าหญิงหลุยส์แห่งบาเดิน)|เจ้าหญิงหลุยส์แห่งบาเดิน]]<br /> (เอลิซาเบธ อเล็กเซเยฟนา)
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2339]] - [[24 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2344]]