ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นักพรต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
 
==นักพรตในพุทธศาสนา==
[[ไฟล์:AjahnMun-Disciples.jpg|250px|thumb|[[พระสงฆ์]]ฝ่าย[[วิปัสสนาธุระ]]ในประเทศไทย]]
 
[[ไฟล์:Phutthamonthon Buddha.JPG|200px|thumb|[[สามเณร]]ชาวไทย ที่พุทธมณฑล]]
 
ใน[[พุทธศาสนา]]มีทั้งนักพรตชาย (monk) และ[[นักพรตหญิง]] (nun) นักพรตชายเรียกว่า[[ภิกษุ]]และ[[สามเณร]] นักพรตหญิงเรียกว่า[[ภิกษุณี]] [[สิกขมานา]] และ[[สามเณรี]] นอกจากนี้ยังมีนักพรตในรูปแบบอื่นๆ เช่น [[โยคี]] [[แม่ชี]] เป็นต้น
เส้น 9 ⟶ 8:
ภิกษุเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อ[[พระพุทธเจ้า]]ประทานเอหิภิกขุอุปสัมปทาแก่[[ปัญจวัคคีย์]]ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน นับจากนั้นก็ทรงอุปสมบทกุลบุตรอื่นๆ เรื่อยมา ทั้งยังทรงอนุญาตการบวชแบบ'''ติสรณคมณูปสัมปทา'''และ'''จตุตถกัมมอุปสัมปทา''' ซึ่งเป็นการบวชที่สาวกดำเนินการได้ด้วยตนเองโดยที่ไม่ต้องกราบทูลให้พระองค์ทราบ ติสรณคมณูปสัมปทาปัจจุบันใช้สำหรับการบวชสามเณร ส่วนจตุตถกัมมอุปสัมปทาใช้กับการบวชพระภิกษุ
 
[[ภิกษุณี]]เกิดขึ้นครั้งแรกหลังจากพระพุทธองค์ตรัสรู้ได้ 5 พรรษา โดยการประทาน[[ครุธรรมแปดประการ]]แปดประการแก่[[พระนางมหาปชาบดีโคตมี]]และเจ้าหญิงศากยะ 500 องค์ ณ เมืองเวสาลี การอุปสมบทแบบนี้เรียกว่า'''ครุธัมมปฏิคคหณูปสัมปทา''' ภายหลังทรงบัญญัติ'''อัฏฐวาจิกาอุปสัมปทา'''ขึ้นใช้ในแทน คือให้ผู้ขอบวชได้รับจตุตถกรรม 2 ครั้ง คือจากฝ่ายภิกษุณีสงฆ์ก่อน แล้วจึงรับจากภิกษุสงฆ์ เมื่อครบแล้วจึงจะเป็นภิกษุณีโดยสมบูรณ์ ตามพระวินัยปิฎกเถรวาทกำหนดให้ภิกษุรักษาสิกขาบท 227ข้อ ภิกษุณีรักษาสิกขาบท 311 ข้อ ส่วนสามเณรและสามเณรีต้องรักษาศีล 10 ข้อ รวมทั้งเสขิยวัตรอีก 75 ข้อ รวมเป็นสิกขาบท 85
 
ปัจจุบันภิกษุณีสงฆ์คงเหลืออยู่แต่ในนิกาย[[นิกายมหายาน]]และ[[วัชรยาน]] เพราะในนิกายเถรวาทสายภิกษุณีสงฆ์ซึ่งมีเฉพาะที่ลังกาได้ขาดช่วงสืบทอดไปตั้งแต่สมัยถูกโปรตุเกสยึดครอง<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 98</ref> ทำให้ไม่สามารถทำการบวชภิกษุณีให้ถูกต้องตามพระไตรปิฎกได้ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันในประเทศไทยมีความพยายามรื้อฟื้นภิกษุณีสงฆ์ในเถรวาท แต่ยังไม่ได้รับการยอมรับจาก[[มหาเถรสมาคม]]
 
==นักพรตในคริสต์ศาสนา==
[[ไฟล์:Vietnamese Cistercians.jpg|200250px|thumb|นักพรต[[คณะซิซเตอร์เชียนซเตอร์เซียน]]ชาวเวียดนาม]]
ใน[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]] นักพรตหมายถึง[[คณะนักบวชคาทอลิก|นักบวช]] (religious) ไม่ว่าชายหรือหญิงที่อุทิศตนกับ[[การอธิษฐานในศาสนาคริสต์|การอธิษฐาน]] [[การเข้าเงียบ]] [[การชดใช้บาป]] และ[[การทำพลีกรรม]]<ref>คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกคริสตศาสนธรรม, '''คู่มือแนะแนวการสอนคำสอนในประเทศไทย''', พิมพ์ครั้งที่ 3, 2553, หน้า 109</ref>
 
คำว่า '''monk''' ในภาษาอังกฤษ มาจากคำภาษากรีก monachos ซึ่งแปลว่า ผู้อยู่โดดเดี่ยว แต่ต่อมาได้ใช้ในความหมายที่กว้างขึ้นคือหมายถึงนักพรตโดยรวม อาจอยู่โดดเดี่ยวในป่าซึ่งเรียกว่า[[ฤๅษี]] (hermit) หรืออยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มในอาราม (monastic monk)<ref name="CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: monk">[http://www.newadvent.org/cathen/10487b.htm monk]. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA เรียกข้อมูลวันที่ 27 ม.ก. พ.ศ. 2554</ref>
เส้น 21 ⟶ 20:
ใน[[คริสต์ศาสนา]]มีพื้นฐานแนวคิดแบบพรตนิยมมาตั้งแต่สมัย[[พระเยซู]] ดังปรากฏพระวจนะที่ตรัสกับชายหนุ่มคนหนึ่งว่า ''“...จงไปขายบรรดาสิ่งของซึ่งท่านมีอยู่แจกจ่ายให้คนอนาถา แล้วท่านจะมีทรัพย์สมบัติในสวรรค์”'' <ref name="พระคริสตธรรมคัมภีร์">''พระคริสตธรรมคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ ฉบับ ๑๙๗๑ (ฉบับเรียงพิมพ์ใหม่ ๑๙๙๘)'', กรุงเทพฯ: สมาคมพระคริสตธรรมไทย, 2543, หน้า 98</ref> (มธ. 19:21) แต่การดำเนินชีวิตแบบนักพรตเริ่มมีบทบาทอย่างชัดเจนในศตวรรษที่ 4 คือภายหลังสิ้นสุดการเบียดเบียนคริสตชน เพราะ[[จักรพรรดิคอนสแตนติน]]ประกาศกฤษฎีกาแห่งมิลาน (Edict of Milan) ในปี ค.ศ. 313 ให้ประชาชนมีเสรีภาพในการนับถือศาสนา<ref>กีรติ บุญเจือ, หน้า 72</ref>
 
ในยุคที่คริสต์ศาสนาถูกเบียดเบียนจากภาครัฐ คริสตชนยุคนั้นได้แสดงออกถึงการติดตามพระเยซูด้วยการยืนยันความศรัทธา ยอมถูกทรมาน หลายคนต้องหนีไปอยู่ในถิ่นทุรกันดาร บางคนถูกประหารชีวิต ทำให้เกิด[[มรณสักขีมรณสักขีในศาสนาคริสต์]] (martyr) ขึ้นหลายท่านเป็นแบบอย่างของผู้อุทิศตนในเวลานั้น เมื่อศาสนาคริสต์ได้รับการยอมรับตามกฤษฎีกาแห่งมิลาน การเบียดเบียนคริสตชนก็สิ้นสุดลง ชาวคริสต์จำนวนหนึ่งจึงหันไปแสดงการอุทิศตนโดยใช้ชีวิตแบบสละทางโลก อาศัยอยู่โดดเดี่ยวในถิ่นทุรกันดารและป่าเขา สวดมนต์อธิษฐานภาวนา การบำเพ็ญพรตในยุคนั้นจึงได้รับการยกย่องว่าเป็น “วีรกรรมใหม่” <ref name="พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน">สมชัย พิทยาพงษ์พร, บาทหลวง, ''พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน'', นครปฐม: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม, 2551, หน้า 39</ref>
 
ในคริสต์ศาสนานักพรตแบ่งได้ออกเป็น 3 ประเภท)<ref>เคนเน็ธ สก๊อตท์ ลาทัวเร็ทท์, หน้า 300</ref> คือ
# นักพรตที่อยู่โดดเดี่ยว (eremite) หรือ[[ฤๅษี]] (hermit) เช่น นักบุญ[[แอนโทนีแห่งอียิปต์]]
# นักพรตที่อยู่กึ่งโดดเดี่ยว (semi-eremite) คือนักพรตแต่ละรูปอาศัยเดี่ยว แต่ในวันเสาร์และอาทิตย์จะมาประกอบ[[พิธีบูชาขอบพระคุณ]] (Eucharistic celebration) และฟังเทศน์ด้วยกัน เช่น กลุ่มนักพรตของนักบุญ[[อัมโมน]]<ref>สมชัย พิทยาพงษ์พรม บาทหลวง, หน้า 42</ref>
# นักพรตที่อยู่เป็นคณะ (cenobite) นักพรตทุกรูปต้องปฏิบัติตามวินัยคณะ (rules) และเชื่อฟัง[[คุณพ่ออธิการอาราม]] (abbot) ซึ่งเป็นหัวหน้าอาราม นักพรตแบบนี้มีจุดเริ่มต้นมาจากนักบุญ[[ปาโคมีอุส]] (Pachomius) นักบุญ[[บาซิลแห่งซีซาเรีย]] (Basyl of Caesarea)
 
จะเห็นว่าลัทธิอารามวาสีในคริสต์ศาสนาเริ่มจากคริสตจักรตะวันออกก่อน ฝ่ายคริสตจักรตะวันตกเริ่มพบการสนับสนุนลัทธิอารามวาสีในปลายศตวรรษที่ 4 จากการที่นักบุญ[[อาทะทานาซีอุสแห่งอแห่งอะเล็กซานเดรีย]]ได้แปลประวัตินักบุญ[[แอนโทนีแห่งอียิปต์]]เป็นภาษาละตินซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในคริสตจักรตะวันตก เพื่อแผยแพร่วิถีอารามวาสีให้คริสตชนที่นั่น ที่เขตมิสซังมุขมณฑลแวร์เชลี (Vercelli) นักบุญ[[เอวเซบีอุส]]ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็น[[บิชอป]]ก็เป็นบุคคลแรกที่นำวิถีนักพรตมาใช้กับนักบวชในเขตมิสซังของตน<ref>สมชัย พิทยาพงษ์พร, บาทหลวง, หน้า 60</ref> ต่อมานักบุญหลายท่านก็ตั้งกลุ่มนักพรตของตนและวางวินัยเอาไว้เป็นหลักปฏิบัติซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็น[[คณะนักบวชคาทอลิก]]รุ่นแรก เช่น นักบุญ[[ออกัสตินแห่งฮิปโป]]ผู้ก่อตั้ง[[คณะออกัสติเนียน]]ในยุคแรก นักบุญ[[เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย]]ผู้วางรากฐาน[[คณะเบเนดิกติน]] เป็นต้น
 
==นักพรตในศาสนาเชน==
[[ไฟล์:Digambara monk Acarya Pushpadantasagara.jpg|200250px|thumb|อาจารย์ ปุษปทันตสาคร นักพรตเชนนิกายทิคัมพร]]
ลัทธิพรตนิยมใน[[ศาสนาเชน]]เกิดขึ้นตั้งแต่สมัยศาสดา[[พระมหาวีระ]] นักพรตเชนแบ่งเป็น 2 นิกาย คือ
*'''ทิคัมพร''' เป็นนักพรตเปลือย เพราะไม่ถือครองสมบัติใด ไม่กินอาหาร
*'''เศวตัมพร''' (อ่านว่า สะ-เหฺว-ตำ-พอน) เป็นนักพรตนุ่งขาว
นักพรตเชนจะต้องถือข้อปฏิบัติที่เรียกว่า '''มหาพรต''' 5 ประการ<ref>''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', หน้า 270</ref> คือ
# '''[[อหิงสา]]''' ไม่ทำลายแม้แต่ชีวิตเล็กน้อย ฉะนั้นจึงต้องมีผ้าปิดปากจมูกเพื่อกันสิ่งมีชีวิตเข้า มีไม้กวาด มีผ้ากรองน้ำไว้ป้องการกันฆ่าสัตว์โดยไม่เจตนา
# '''สัตยะ''' การพูดแต่ความจริง
เส้น 50 ⟶ 49:
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:นักบวชในศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในศาสนา]]
 
[[als:Mönch]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/นักพรต"