ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาพพิมพ์หิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต เพิ่ม: lv:Litogrāfija
Parinya.pun (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขคำผิด และแก้ไขข้อมูลในส่วนของรายละเอียดเบื้องต้น เพื่อความเรียบร้อยในการอ่าน
บรรทัด 4:
'''ภาพพิมพ์หิน'''<ref>มะลิฉัตร เอื้ออานันท์. “''พจนานุกรมศัพท์ศิลปะ''” สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2545</ref> หรือ '''ภาพพิมพ์หิน'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php “''ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน''”]</ref> ({{lang-en|Lithography}}) “Lithography” มาจากภาษากรีกว่า “λίθος” (lithos) ที่แปลว่า “หิน” สมาสกับคำว่า “γράφω” (graphο) ที่แปลว่า “เขียน” คือเทคนิค[[การพิมพ์]]ที่ใช้หินปูนพิมพ์หิน (lithographic limestone) หรือแผ่นโลหะที่มีผิวเรียบ เดิมเทคนิคการพิมพ์ใช้น้ำมันหรือไขมัน แต่ในสมัยใหม่ภาพสร้างขึ้นโดยการใช้[[พอลิเมอร์]]ทำปฏิกิริยากับแผ่นพิมพ์[[อะลูมิเนียม]] พื้นผิวที่ราบเรียบแบ่งออกเป็น (1) บริเวณ[[Hydrophile|ซับน้ำ]] (Hydrophilic) ที่ซับฟิล์มหรือน้ำขณะที่ยังชื้น แต่ไม่ซับหมึก และ (2) บริเวณ [[ไฮโดรโฟบิก|ต้านน้ำ]] (Hydrophobic) ที่ซับหมึกเพราะเป็นบริเวณที่มีแรงดึงของผิว (surface tension) สูงกว่าบนบริเวณของภาพที่มันกว่าที่ยังคงแห้งเพราะน้ำจะไม่เกาะตัวในบริเวณที่มัน กระบวนการทำภาพพิมพ์หินค่อนข้างจะแตกต่างกับ[[Intaglio (printmaking)|การพิมพ์แกะลาย]] (Intaglio printmaking) ที่แผ่นพิมพ์จะได้รับการแกะหรือทำเป็นลายเช่นในการทำ[[Mezzotint|ภาพพิมพ์มัชฌิมรงค์]] (Mezzotint) ที่จะทำเป็นร่องให้ซับหมึก หรือในการทำ[[ภาพพิมพ์แกะไม้]] และใช้หมึกที่ไม่ใช่หมึกกันน้ำทาบนผิวส่วนที่นูนที่เป็นตัวอักษรหรือภาพก่อนที่จะทำการพิมพ์
 
ภาพพิมพ์หินเป็นเทคนิคที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยนักเขียนชาวบาวาเรีย[[Alois Senefelder|อล็อยส์ เซอเนอเฟลเดอร์]]ในปี ค.ศ. 1796 เพื่อใช้เป็นการลดต้นทุนในการพิมพ์งานศิลปะ<ref name="meggspage146">Meggs, Philip B. A History of Graphic Design. (1998) John Wiley & Sons, Inc. p 146 ISBN 0-471-29198-6</ref><ref name="carterpage11">Carter, Rob, Ben Day, Philip Meggs. Typographic Design: Form and Communication, Third Edition. (2002) John Wiley & Sons, Inc. p 11</ref> ภาพพิมพ์หินสามารถใช้ในการพิมพ์ตัวอักษรหรืองานศิลปะบนกระดาษหรือวัสดุอื่นที่เหมาะสม หนังสือส่วนใหญ่ หรือหนังสือหนังสือพิมพ์ที่พิมพ์เป็นจำนวนมากทั้งหมดจะพิมพ์ในปัจจุบัน ใช้วิธีพิมพ์ที่เรียกว่า “[[offset lithography]]” นอกจากนั้นคำว่า “lithography” ก็ยังอาจจะหมายถึง [[photolithography]] ซึ่งเป็นเทคนิค [[microfabrication]] ที่ใช้ในการทำ [[integrated circuits]] และ [[microelectromechanical systems]] แม้ว่าเทคนิคที่ใช้จะใกล้เคียงกับ[[etching|การพิมพ์กัดกรด]]มากกว่าก็ตาม
 
== อ้างอิง ==