ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซตว่าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: nn:Den tomme mengda
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Empty set.svg|thumb|right|100px|สัญลักษณ์แทนเซตว่าง]]
ในทาง[[คณิตศาสตร์]] และที่เจาะจงกว่าคือ[[ทฤษฎีเซต]] '''เซตว่าง''' ({{lang-en|empty set}}) ในทาง[[คณิตศาสตร์]] และที่เจาะจงกว่าคือ[[ทฤษฎีเซต]]หมายถึง [[เซต]]เพียงหนึ่งเดียวที่ไม่มีสมาชิก หรือเรียกได้ว่ามีสมาชิก [[0]] ตัว เซตว่างสามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ "∅" หรือ "<math>\emptyset</math>" ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากอักษร [[Ø]] ใน[[ภาษาเดนมาร์ก]]และ[[ภาษานอร์เวย์]] เสนอโดยกลุ่มของ [[Nicolas Bourbaki]] (โดยเฉพาะ [[André Weil]]) ในปี [[ค.ศ. 1939]] <ref>[http://members.aol.com/jeff570/set.html Earliest Uses of Symbols of Set Theory and Logic]</ref> สัญกรณ์แบบอื่นที่นิยมใช้ตัวอย่างเช่น "{ }", "Λ" และ "‣" <ref>[[John B. Conway]], Functions of One Complex Variable. Second Edition. Page 12</ref>
 
[[ทฤษฎีเซตเชิงสัจพจน์]] (axiomatic set theory) ได้ตั้งสมมติฐานไว้ว่า เซตว่างจำเป็นต้องมีขึ้นเนื่องจาก[[สัจพจน์ของเซตว่าง]] (axiom of empty set) บางครั้งเซตว่างก็ถูกเรียกว่าเป็น [[เซตนัลล์]] (null set) แต่เซตนัลล์มีความหมายอื่นในเรื่องของ[[ทฤษฎีเมเชอร์]] ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงในการใช้คำนี้
เส้น 15 ⟶ 14:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
<references />
{{เริ่มอ้างอิง}}
* วัชรี กาญจน์กีรติ, ''พีชคณิตนามธรรม''. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551. ISBN 978-974-03-2114-9
{{จบอ้างอิง}}
 
{{เรียงลำดับ|ซเตว่าง}}