ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประชัย เลี่ยวไพรัตน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mig44 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mig44 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 26:
แนวทางการฟื้นฟูของกระทรวงการคลังคือ นำรัฐวิสาหกิจในเครือเข้ามาถือหุ้นเพิ่มทุน ประกอบด้วย [[ปตท.]] เข้ามาถือหุ้น 31.5% และ[[ธนาคารออมสิน]] [[กบข.]] และ[[กองทุนวายุภักษ์ 1]] ถือหุ้น 10% ในขณะที่ทางฝ่ายนายประชัยได้พยายามซื้อหุ้นคืน โดยได้ความสนับสนุนจาก[[ซิติก กรุ๊ป]] (China International Trust & Investment Corp.) รัฐวิสาหกิจจากประเทศจีนเข้ามาซื้อหุ้น โดยฝ่ายนายประชัยเสนอที่จะชำระหนี้ให้เจ้าหนี้ทันที 2,700 ล้านเหรียญสหรัฐ
 
เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 [[ศาลฎีกา]] มีคำตัดสินว่าประชัยไม่มีสิทธิซื้อหุ้นเพิ่มทุนก่อนกลุ่มปตท. ส่งผลให้ ปตท. เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ ทีพีไอ ศาลล้มละลายกลาง มีคำสั่งให้ทีพีไอออกจากแผนฟื้นฟูกิจการ เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2549 และมีการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเพื่อเลือกตั้งกรรมการชุดใหม่ เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 ที่ประชุมมีมติให้ปลดนายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ ออกจากทุกตำแหน่งในบริษัท <ref>http://www.komchadluek.net/2006/07/20/d001_29490.php?news_id=29490</ref> ถือเป็นการสิ้นสุดของอำนาจการบริหารในทีพีไอ ที่ประชัยเป็นผู้ก่อตั้งขึ้น
 
==การสนับสนุนฝ่านต่อต้านรัฐบาลนายทักษิณ ชินวัตร==