ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปัญหาชาวยิว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการอ้างอิงด้วยสจห.
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 6:
 
นับแต่จุดนั้น บทความ จุลสาร บทความหนังสือพิมพ์และหนังสืออื่นอีกนับร้อยถูกเขียนขึ้นว่าด้วยหัวข้อดังกล่าว โดยมีการเสนอ "ทางแก้" หลากหลาย รวมทั้งการโยกย้ายถิ่นฐาน การเนรเทศ และการดูดกลืนประชากรยิว คล้ายกัน งานวรรณกรรมอีกนับร้อยชิ้นเขียนขึ้นเพื่อคัดค้าน "ทางแก้" เหล่านี้ และเสนอทางแก้เช่น บูรณาการใหม่ และการศึกษา
 
นับแต่ราว ค.ศ. 1860 เป็นต้นมา แนวคิดนี้ได้มีแนวโน้มต่อต้านยิวเพิ่มขึ้น ชาวยิวได้รับการอธิบายภายใต้ชื่อนี้ว่าเป็นอุปสรรคกีดขวางต่ออัตลักษณ์และความเชื่อมแน่นของชาติเยอรมันและในฐานะศัตรูภายในประเทศของชาวเยอรมันเอง ผู้ต่อต้านชาวยิวเช่น วิลเฮล์ม มาร์, คาร์ล ออยเกน ดือริง, เธโอดอร์ ฟริทช์, ฮิวสตัน สจวร์ต เชมเบอร์เลน, พอล เดอ ลาการ์ด เป็นต้น ประกาศว่า ปัญหาชาวยิวเป็นปัญหาทางเชื้อชาติซึ่งไม่อาจแก้ไขได้ด้วยการผสานกลืน เพื่อที่จะเสนอข้อเรียกร้องสำหรับ "การนำยิวออกจาก" สื่อ การศึกษา รัฐและเศรษฐกิจ ความเข้าทีทางวัฒนธรรม ร่วมกับข้อเรียกร้องให้บังคับมิให้มีการแต่งงานระหว่างยิวกับผู้ที่ไม่ใช่ยิว พวกเขายังใช้นิยามนี้ขับยิวออกจากตำแหน่งครอบงำทางสังคมที่มากกว่าของพวกเขา
การใช้สำนวนนี้อย่างไม่เป็นทางการมากที่สุดใช้โดยนาซีในช่วงต้นและกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งลงเอยด้วยการนำ "ทางแก้ปัญหาชาวยิวสุดท้าย" ไปปฏิบัติระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
 
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ยิว]]