ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การหมัก (ชีวเคมี)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต แก้ไข: sr:Ферментација (биохемија)
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink
บรรทัด 19:
** ผลผลิตเป็นเอนไซม์ (Microbial enzyme)ส่วนใหญ่ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น เอนไซม์[[อะไมเลส]] (Amylase) เอนไซม์[[ไลเปส]] (Lipase) เอนไซม์[[โปรตีเอส]] (Proteases) เป็นต้น
** ผลผลิตเป็นสารเมทาบอไลท์ (Microbial metabolite) อาจจะเป็นสารเมทาบอไลท์ปฐมภูมิ (Primary metabolite) เช่น เอธานอล บิวทานอล ไลชีน วิตามิน เป็นต้น จุลินทรีย์จะผลิตสารเหล่านี้ขึ้นในช่วง Log phase และสารเมทาบอไลท์ทุติยภูมิ (Secondary metabolite) ซึ่งเป็นผลผลิตจากกระบวนการเมตาบอลิซึมปฐมภูมิ ซึ่งพบในจุลินทรีย์บางชนิดในช่วง Stationary phase ของการเจริญ แต่มีความสำคัญเช่น ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ชนิดอื่นได้ เป็นสารส่งเสริมการเจริญเติบโต (Growth promoter) หรือมีคุณสมบัติเป็นยารักษาโรค เป็นต้น
** เกิดการเปลี่ยนรูปของสารประกอบที่เติมลงไป (Transformation process) เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสารประกอบให้อยู่ในรูปที่คล้ายกัน แต่มีราคาสูงขึ้นเช่น กระบวนการผลิต[[น้ำส้มสายชู]] (การเปลี่ยนเอธานอลไปเป็น[[กรดอะซิติกน้ำส้ม]])การผลิตยาปฏิชีวนะ เป็นต้น
* แบ่งตามความต้องการอากาศหรือออกซิเจน
** Aerobic fermentation เป็นการหมักที่ต้องการอากาศ เช่น การหมัก[[กรดซิตริก]] และ[[กรดอะซิติกน้ำส้ม]] เป็นต้น
** Anaerobic fermentation เป็นการหมักที่ไม่ต้องการออกซิเจน เช่น การหมักอะซิโตนและบิวทานอล
* แบ่งตามสภาพการควบคุมการปนเปื้อนของเชื้อ