ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาซิวหนู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ลิงก์เปลือง
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
'''ปลาซิวหนู''' ({{lang-en|Least rasbora, Exclamation-point rasbora}}, {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Boraras urophthalmoides}}) เป็น[[ปลาซิว]]ชนิดหนึ่ง อยู่ใน[[วงศ์ปลาตะเพียน]] (Cyprinidae)
 
มีลักษณะคล้าย[[ปลาซิว]]ชนิดอื่น แต่มีขนาดเล็กกว่ามาก หัวและตามีขนาดโต ปากมีขนาดเล็ก ครีบและเกล็ดมีขนาดใหญ่ หัวและลำตัวมี[[สีส้ม]]หรือ[[แดง]]อมส้ม มีแถบ[[สีดำ]]พาดตามแนวยาวกลางลำตัว โคนหางมีจุดสีคล้ำ
 
มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 1.5-2 [[เซนติเมตร]] มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูงขนาดใหญ่และว่ายขึ้นมาใกล้ผิวน้ำ ในแหล่งน้ำที่นิ่งมี[[หญ้า]]และ[[พืชน้ำ]]ขึ้นหนาแน่น และน้ำมีสภาพเป็น[[pH|กรด]]เล็กน้อย (pH ต่ำกว่า 7 เล็กน้อย) เช่น น้ำในป่า[[พรุ]] เป็นต้น
 
จัดเป็นปลาที่พบได้น้อยในแหล่งที่อยู่ใน[[ธรรมชาติ]] โดยพบกระจายทั่วไปในภูมิภาค[[อินโดจีน]] สำหรับใน[[ประเทศไทย]]พบเพียงไม่กี่แห่ง อาทิ [[พื้นที่ชุ่มน้ำ]][[ชายฝั่ง]][[ทะเล]]ใกล้[[ปากแม่น้ำ]][[ลุ่มน้ำเจ้าพระยา|เจ้าพระยา]] ในที่ราบลุ่ม[[ภาคกลาง]]ของประเทศ เป็นต้น <ref>[http://m.wwf.or.th/what_we_do/environmental_education/history_of_naec/ WWF - ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร จาก[[กองทุนสัตว์ป่าโลก]] {{th}}]</ref>
 
นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ซึ่งสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง<ref>[[ชวลิต วิทยานนท์]] ดร. ''คู่มือปลาน้ำจืด'' หน้า 125 (สำนักพิมพ์สารคดี กรุงเทพ, พ.ศ. 2547) ISBN 9744841486 </ref>