ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอมโมนอยด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wilson44691 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 84:
 
===ภาวะทวิสัณฐานทางเพศ===
[[Image:AmmonitePeltoceras solidum Israel.jpgJPG|thumb|แอมโมไนต์ชนิดหนึ่ง [[ยุคจูแรสซิก]]]]
ลักษณะหนึ่งที่พบในเปลือกกระดองของ[[หอยงวงช้าง]]ปัจจุบันคือความแปรผันในรูปร่างและขนาดอันเนื่องมาจากเพศที่ต่างกันของสัตว์ โดยเปลือกกระดองของเพศผู้ค่อนข้างเล็กและกว้างกว่าของเพศเมีย ภาวะทวิสัณฐานทางเพศนี้ถูกนำมาอธิบายในเรื่องความแปรผันของขนาดของเปลือกกระดองแอมโมไนต์สายพันธุ์เดียวกันด้วย กล่าวคือเปลือกกระดองใหญ่กว่า (เรียกว่า ‘’’มาโครคองช์’’’) เป็นเพศเมีย และเปลือกกระดองที่เล็กกว่า (เรียกว่า ‘’’ไมโครคองช์’’’) เป็นเพศผู้ โดยเข้าใจได้ว่าเนื่องมาจากเพศเมียต้องการขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่าเพื่อการผลิตไข่ ตัวอย่างที่ดีอันหนึ่งในเรื่องความแปรผันอันเนื่องจากเพศนี้พบได้ใน “[[ไบเฟอริเซอแรส]]” จากช่วงต้นๆของยุคจูแรสซิกใน[[ยุโรป]]