ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทวีปเลื่อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Antonio Snider-Pellegrini Opening of the Atlantic.jpg|thumb|300px|ภาพวาดมหาสมุทรแอตแลนติกเปิดและปิดของอันโตนิโอ สไนเดอร์-เพลเลกรินี (ค.ศ. 1858)]]
'''การเลื่อนไหลของทวีป'''หรือ'''ทวีปเลื่อน''' ({{lang-en|Continental drift}}) เป็นแนวคิดซึ่งเสนอโดยนัก[[อุตุนิยมวิทยา]]และนัก[[ธรณีฟิสิกส์]]ชาว[[เยอรมัน]] [[อัลเฟรด เวเกเนอร์]] เมื่อ [[พ.ศ. 2455]] (ค.ศ. 1912) ซึ่งกล่าวไว้ว่า ทวีปที่อยู่ทั้งสองฝั่งของ[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]น่าจะเคยเชื่อมต่อกันเป็นมหาทวีปมาก่อน โดยเชื่อมต่อกันเป็นมหาทวีปซึ่งเรียกว่า ''[[พันเจีย]]'' (Pangea) และล้อมรอบด้วยมหาสมุทรผืนเดียวกันเรียก ''[[พันทาลัสซา]]'' (Panthalassa) โดยอ้างหลักฐานจากข้อมูลทางสภาพภูมิศาสตร์บริเวณขอบของทวีปต่าง ๆ ได้แก่ [[ทวีปแอฟริกา]] [[ทวีปอเมริกาเหนือ]]และ[[ทวีปอเมริกาใต้]] ที่สามารถต่อกันเป็นพื้นผืนเดียวกันได้อย่างเหมาะสม และข้อมูลการค้นพบ[[ซากดึกดำบรรพ์]]ที่เป็นเผ่าพันธุ์คล้ายคลึงกันในสปีชีส์เดียวกันบนทวีปทั้งสองฝั่งของ[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]
 
ก่อนที่เวเกเนอร์จะสังเกตนั้น มีนักวิทยาศาสตร์หลายคนก่อนเวเกเนอร์ที่เคยสังเกตทวีปเลื่อนมาก่อนแล้ว ได้แก่เช่น [[ฟรานซิส เบคอน]], [[อันโตนิโอ สไนเดอร์ เพลลิกรินี]], และ[[เบนจามิน แฟรงคลิน]] ในเบื้องต้นนั้นตอนแรกแนวคิดนี้ถูกเยาะเย้ยว่าไร้เหตุผลโดย[[นักภูมิศาสตร์]]และ[[นักธรณีวิทยา]]หลายๆ หลายคนมองว่าไร้เหตุผล เนื่องจากเพราะแนวคิดการเลื่อนไหลของทวีปนั้น ยังนี้ไม่สามารถอธิบายได้ว่าเพราะเหตุใดจึงเกิดการเลื่อนไหลของทวีป และเกิดแรงมหาศาลที่ใช้ในการเลื่อนไหลได้อย่างไร แต่ในขณะเดียวกันแนวคิดนี้ก็ได้รับการสนับสนุนเช่นกันโดย[[อเล็กซานเดอร์ ดูทอยท์]] นักธรณีวิทยาชาว[[แอฟริกาใต้]] รวมทั้ง[[อาเธอร์ โฮล์มส]]
 
แม้ว่าแนวคิดการเลื่อนไหลของทวีปนั้น จะไม่ได้เป็นที่ยอมรับจนถึงกระทั่งคริสต์ทศวรรษ 1950 แต่ต่อมาในปีคริสต์ทศวรรษ 1960 มีผู้เสนอทฤษฏีสนับสนุนหลายทฤษฎี เช่น ''[[การขยายตัวของพื้นมหาสมุทร]]'' (sea-floor spreading) และซึ่งได้ตอบคำถามที่มีต่อแนวคิดการเลื่อนไหลของทวีปต้องการ คือ สามารถอธิบายถึงสาเหตุและแรงที่ทำให้แผ่นทวีปมีการเลื่อนไหล จึงทำให้แนวคิดของเวเกเนอร์เริ่มได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายมากขึ้น ซึ่งต่อมาแนวคิดและทฤษฏีเหล่านี้กลายเป็นหนึ่งในทฤษฏีใหม่ที่สำคัญที่สุดทาง[[ธรณีวิทยา]] นั่นคือ ''ทฤษฏี[[เพลทเทคโทนิค]]'' (plate tectonic)
 
== หลักฐานการเลื่อนไหลของทวีป ==
[[ไฟล์:Snider-Pellegrini Wegener fossil map.svg|thumb|right|รูปแบบซากดึกดำบรรพ์ในทวีปต่าง ๆ ([[กอนด์วานาแลนด์]])]][[Imageไฟล์:Mesosaurus.png|right|thumb|โครงกระดูกเมโซซอรัส เมกเกรเกอร์ ค.ศ. 1908]]
หลักฐานการเลื่อนไหลของทวีปนั้นมีกว้างขวาง ซากพืชและสัตว์ดึกดำบรรพ์ถูกพบรอบชายฝั่งต่างทวีปที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นการบอกอธิบายว่าครั้งหนึ่งทวีปทั้งสองเคยเชื่อมต่อกัน ซากดึกดำบรรพ์ของ[[เมโซซอรัส]] [[สัตว์เลื้อยคลาน]][[น้ำจืด]]ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับ[[จระเข้]]ขนาดเล็ก ที่พบทั้งใน[[บราซิล]]และ[[แอฟริกาใต้]] เป็นตัวอย่างหนึ่ง ส่วนอีกตัวอย่างหนึ่งนั้นคือ การค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์เลื้อยคลานบก [[ไลโทรซอรัส]] จากหินอายุเดียวกันจากตำแหน่งใน[[ทวีปอเมริกาใต้]] [[ทวีปแอฟริกา]]และ[[แอนตาร์กติกา]]<ref>{{Cite web |url=http://pubs.usgs.gov/gip/dynamic/continents.html |publisher=USGS |title=Rejoined continents [This Dynamic Earth, USGS] }}</ref> นอกจากนี้ยังมีหลักฐานมีชีวิตอยู่ คือ สัตว์ชนิดเดียวกันที่ถูกพบทั้งสอทวีป เช่น [[ไส้เดือนดิน]]บางตระกูลพบทั้งในอเมริกาใต้และแอฟริกา
 
ตะกอนธารน้ำแข็งสมัยเพอร์โม-คาร์บอนิเฟอรัสที่กระจัดกระจายอย่างกว้างขวางในอเมริกาใต้ แอฟริกา [[มาดากัสการ์]] อาราเบีย [[อินเดีย]] แอนตาร์กติกาและ[[ออสเตรเลีย]]เป็นหนึ่งในชิ้นส่วนหลักฐานสำคัญของทฤษฎีทวีปเลื่อน ความต่อเนื่องของธารนำแข็ง อนุมานจากริ้วลายขนานธารน้ำแข็งที่หันไปทางเดียวกันและหิน[[ทิลไลต์]] เสนอการมีอยู่ของมหาทวีปกอนด์วานาทวีป[[กอนด์วานา]] ซึ่งกลายมาเป็นองค์ประกอบกลางของมโนทัศน์ทวีปเลื่อน ริ้วลายขนานบ่งชี้ว่าธารน้ำแข็งไหลออกจากเส้นศูนย์สูตรไปยังขั้ว ในพิกัดสมัยใหม่ และสนับสนุนแนวคิดว่า ทวีปทางใต้เคยอยู่ในสถานที่แตกต่างกันมาก เช่นเดียวกับต่อเนื่องกันมาก่อน<ref name=wegb>{{Citation | author=Wegener, A. | title = The Origin of Continents and Oceans | year=1929/1966 |publisher=Courier Dover Publications|isbn=0486617084}}</ref>
 
== อ้างอิง ==