ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮิสโตน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต เพิ่ม: kk:Гистондар
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Nucleosome structure.png|thumb|300px|โครงสร้างของฮิสโตนที่เป็นแกนของ[[นิวคลีโอโซม]]]]
 
'''โปรตีนฮิสโตน'''เป็น[[โปรตีน]]ที่มีประจุบวกสูงพันอยู่กับ[[ดีเอ็นเอ]]ของ[[ยูคาริโอต]]เป็นโครงสร้างที่เรียกว่านิวคลีโอโซม <ref name="Youngson">{{cite book| last= Youngson| first= Robert M.| title= Collins Dictionary of Human Biology| year= 2006| publisher= HarperCollins| location= Glasgow| isbn = 0-00-722134-7}}</ref><ref name="Nelson&Cox">{{cite book | author = Cox, Michael; Nelson, David R.; Lehninger, Albert L | authorlink = | editor = | others = | title = Lehninger Principles of Biochemistry | edition = | language = | publisher = W.H. Freeman | location = San Francisco | year = 2005 | origyear = | pages = | quote = | isbn = 0-7167-4339-6 | oclc = | doi = | url = | accessdate = }}</ref> และเป็นโครงสร้างหลักของโครมาติน เกี่ยวข้องกับการม้ววนตัวของดีเอ็นเอและ[[การแสดงออกของยีน]] ทำให้โครงสร้างของจีโนมมีขนาดเล็กลงเมื่อม้วนตัวจนแน่นเป็นโครโมโซมในการแบ่งเซลล์ระยะ[[ไมโทซิส]].<ref name="pmid11893489">{{cite journal | author = Redon C, Pilch D, Rogakou E, Sedelnikova O, Newrock K, Bonner W | title = Histone H2A variants H2AX and H2AZ | journal = Curr. Opin. Genet. Dev. | volume = 12 | issue = 2 | pages = 162–9 | year = 2002 | month = April | pmid = 11893489 | doi = 10.1016/S0959-437X(02)00282-4 | url = | issn = }}</ref> แบ่งย่อยได้ 5 ชนิดคือ H1 H2A H2B H3 และ H4 การรวมตัวของฮิสโตนกับดีเอ็เอเป็นโครมาตินเมื่อศึกษาด้วย[[กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน]] จะมีลักษณะคล้ายสร้อยลูกปัด โดยเม็ดลูกปัดประกอบด้วยโปรตีน H2A H2B H3 และ H4 อย่างละ 2 โมเลกุล รวมตัวกันเป็นก้อนขนาด 11 นาโนเมตร และมีดีเอ็นเอยาวประมาณ 200 คู่เบสพันรอบโปรตีนเหล่านี้ ระหว่างก้อนลูกปัดจะมีสายดีเอ็นเอที่เป็นตัวเชื่อมและมีโปรตีน H1 จับอยู่
== การจัดจำแนกฮิสโตนในมนุษย์ ==
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฮิสโตน"