ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่น้ำตาปี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 5:
 
== ประวัติ ==
ชื่อแม่น้ำตาปีเป็นชื่อที่ [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2458 และได้กระทำคำสั่งประกาศเป็นทางการโดยมี มหาอำมาตย์โท พระยามหาอำมาตยาธิบดี เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ลงนามในประกาศสนองฯ ณ วันที่ 29 สิงหาคม 2458
 
เดิมแม่น้ำตาปี มีชื่อว่า " แม่น้ำหลวง" เพราะมีต้นกำเนิดของแม่น้ำสายที่อยู่ที่ภูเขาหลวงซึ่งเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดของทิวเขาเทือกเขานครศรีธรรมราช อยู่ในเขตพื้นที่ [[อำเภอพิปูน]] [[จังหวัดนครศรีธรรมราช]] ไหลผ่าน[[อำเภอฉวาง]] [[อำเภอทุ่งใหญ่]] [[จังหวัดนครศรีธรรมราช]] ผ่าน [[อำเภอพระแสงบ้านนาสาร]] [[อำเภอบ้านนาสารพระแสง]] [[อำเภอเคียนซา]] [[อำเภอพุนพิน]] และไหลออกสู่อ่าวไทยที่อำเภอเมือง [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]] เป็นแม่น้ำสายยาวที่สุดของภาคใต้
 
ด้วยแม่น้ำสายนี้ มีความยาวครอบคลุมพื้นที่มาก ชาวพื้นเมือง จึงเรียกชื่อแตกต่างกันไปตามสถานที่ เช่น เมื่อผ่านอำเภอพุนพิน เรียกแม่น้ำท่าข้าม ด้วยความที่เป็นแม่น้ำสายใหญ่ที่สุดในราชอาณาจักรมณฑลปักษ์ใต้ ตลอดสายแห่งลุ่มแม่น้ำสายนี้จึงอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก การค้าขาย จัดเป็นแม่น้ำสายสำคัญอีกสายหนึ่งของราชอาณาจักรสยามในเวลานั้น
เนื่องจากแม่น้ำหลวง มีความยาวมาก ชาวพื้นเมือง จึงเรียกชื่อแม่น้ำสายนี้ต่างกันออกไปตามตำบลที่ไหลผ่าน เช่น เมื่อผ่าน[[อำเภอพุนพิน]] เรียกแม่น้ำท่าข้าม ประกอบกับแม่น้ำสายนี้เป็นแม่น้ำที่ใหญ่กว่าแม่น้ำใด ๆ ในพระราชอาณาจักรมณฑลปักษ์ใต้ ท่องที่ลุ่มแม่น้ำสายนี้เป็นพื้นที่อุดม มีความสำคัญแก่การเพาะปลูก มีความสำคัญทั้งแก่การเพาะปลูก และค้าขาย นับเป็นแม่น้ำสำคัญมากสายหนึ่งของอาณาจักรสยาม ด้วยเหตุที่[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จพระราชดำเนินไปประทับที่พระตำหนักสวนสราญรมย์ ที่ตำบลท่าข้าม [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทานชื่อเมืองไชยาใหม่ (ที่บ้านดอน) เป็นเมืองสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2458 จึงมีพระราชดำรัสว่า เห็นสมควรจะให้มีชื่อไว้เป็นหลักฐานตลอดทั้งลำน้ำ เพื่อให้เป็นการสะดวก แก่ประชาชน และวิชาภูมิศาสตร์สืบไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานชื่อแม่น้ำสายนี้ว่าแม่น้ำตาปีโดยนับตั้งแต่ปากน้ำออกทะเล ถึงเกาะปราบ ขึ้นไปถึงเมืองสุราษฎร์ธานี ถึงปากแม่น้ำพุมดวง (ที่อำเภอพุนพิน ตรงบริเวณตอนเหนือของสะพานรถไฟพระจุลจอมเกล้าไปเล็กน้อย) แต่ปากแม่น้ำพุมดวงขึ้นไปถึงปากคลองสินปุน ตั้ง ตั้งแต่ปากคลองสินปุนไปถึงคลองกะเปียด ตั้งแต่คลองกะเปียดขึ้นไปถึงสำนักบันได สามขั้นบนสันเขาหลวงซึ่งเป็นต้นน้ำ
 
เมื่อรัชกาลที่ 6 เสด็จไปประทับ ณ พระตำหนักสวนสราญรมย์ ตำบลท่าข้าม ได้ทรงพระราชทานชื่อเมืองไชยาเป็นเมืองสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2458 และมีพระราชดำรัสว่าสมควรที่เปลี่ยนชื่อแม่น้ำในตัวเมืองสุราษฎร์ธานี ตลอดทั้งลำน้ำตั้งปากน้ำที่ออกสู่ทะเล ถึงเกาะปราบ ปากแม่น้ำพุมดวง คลองสินปุน คลองกะเบียด จนถึงสันเขาหลวง ว่า '''แม่น้ำตาปี'''
การตั้งชื่อเมือง และแม่น้ำนี้ คล้ายกับชื่อแม่น้ำ ตาปติ และเมือง สุรัฎฐ (สุราษฎร์) ในประเทศอินเดีย ซึ่งแม่น้ำตาปติตั้งต้นจากภูเขาสัตตปุระ ไหลลงสู่มหาสมุทรอินเดียทางอ่าวแคมเบย์ และริมฝั่งซ้ายของปากแม่น้ำนี้มีเมืองชื่อว่า สุรัฎฐ์ ตั้งอยู่ สภาพของเมืองทั้งสองคล้ายคลึงกัน ประกอบกับทรงทราบว่า ชาวเมืองสุราษฎร์เป็นผู้มีคุณธรรม ยึดมั่นในหลักพระพุทธศาสนาสอดคล้องกับ ความหมายของสุราษฎร์ธานี พร้อมกันนี้ ได้ทรงพระราชทานนามพระตำหนักที่ชาวเมืองสร้างถวายเป็นที่ประทับบนควนท่าข้ามว่า สวนสราญรมย์ ซึ่งปัจจุบัน เป็นที่ตั้งของโรงพยาบาล<ref>[http://www.khatunlocal.org/pdf/tapeeriver.pdf เทือกเขาหลวง ต้นกำเนิดแม่น้ำตาปี]</ref>
 
การตั้งชื่อเมือง และแม่น้ำนี้ คล้ายกับชื่อแม่น้ำ ตาปติ และเมือง เมืองสุรัฎฐ (สุราษฎร์) ในประเทศอินเดีย ซึ่งแม่น้ำตาปติตั้งต้นมีต้นกำเนิดจากภูเขาสัตตปุระ ไหลลงสู่มหาสมุทรอินเดียทางที่อ่าวแคมเบย์ และริมฝั่งซ้ายของปากแม่น้ำนี้มีเมืองชื่อว่า สุรัฎฐ์ ตั้งอยู่ ซึ่งสภาพของเมืองทั้งสองอาจคล้ายคลึงกัน ประกอบกับทรงทราบว่า ชาวเมืองสุราษฎร์ไชยาเป็นผู้มีคุณธรรม ยึดมั่นตั้งมั่นในหลักพระพุทธธรรมศาสนาสอดคล้องกับ ความหมายของคำว่า สุราษฎร์ธานี พร้อมกันนี้ และได้ทรงพระราชทานนามพระตำหนักที่ชาวเมืองสร้างถวายเป็นที่ประทับบนควนเนินท่าข้ามว่า สวนสราญรมย์ ซึ่งปัจจุบัน เป็นที่ตั้งของโรงพยาบาลสวนสราญรมย์<ref>[http://www.khatunlocal.org/pdf/tapeeriver.pdf เทือกเขาหลวง ต้นกำเนิดแม่น้ำตาปี]</ref>
 
== คลองสาขา ==