ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลไกอัตราแลกเปลี่ยนยุโรป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
 
กริด (ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Parity Grid) ของอัตราทวิภาคี คำนวณได้จากพื้นฐานของอัตรากลางเหล่านี้ที่แสดงใน ECU และความผันผวนสกุลเงินต้องถูกจำกัดภายในขอบ 2.25% ทั้งสองฝ่ายของอัตราทวิภาคี (ยกเว้นสกุลลีร่าอิตาลี ซึ่งอนุญาตให้ขอบเป็น 6%) การแทรกแซงที่กำหนดและข้อตกลงกู้ยืมคุ้มครองสกุลเงินที่เข้าร่วมมิให้มีอัตราแลกเปลี่ยนผันผวนมากขึ้น
 
=== การถูกบีบออกจาก ERM ของปอนด์สเตอร์ลิง ===
สหราชอาณาจักรเข้า ERM ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2533 แต่ถูกบีบให้ออกจากโครงการภายในสองปีหลัง[[ปอนด์สเตอร์ลิง]]ได้รับแรงกดดันอย่างหนักจากผู้สังเกตการณ์เงินตรา รวมทั้ง[[จอร์จ โซรอส]] เหตุการณ์ตลาดหลักทรัพย์ตกเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2535 ที่เกิดขึ้นตามมา ถูกขนานนามภายหลังว่า "วันพุธทมิฬ" มีการทบทวนทัศนะต่อเหตุการณ์นี้โดยแสดงสมรรถนะทางเศรษฐกิจอันแข็งแกร่งของสหราชอาณาจักรหลัง พ.ศ. 2535 โดยมีผู้วิจารณ์เรียกว่า "วันพุธขาว" นักวิจารณ์บางคน หลังนอร์แมน เท็บบิต เรียก ERM ว่าเป็น "กลไกถดถอยตลอดกาล" (Eternal Recession Mechanism) หลังสหราชอาณษจักรเข้าสู่ห้วงเศรษฐกิจตกต่ำในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษ 1990 สหราชอาณาจักรใช้เงินกว่า 6,000 ล้านปอนด์พยายามรักษาค่าเงินให้อยู่ในขีดจำกัดแคบ ๆ โดยมีรายงานกว้างขวางว่า รายได้ส่วนตัวของโซรอสมีถึง 1 พันล้านปอนด์ เทียบกับ 12 ปอนด์ของประชากรอังกฤษแต่ละคน และขนานนามโซรอสว่าเป็น "ชายผู้ทุบธนาคารอังกฤษ"
 
[[หมวดหมู่:สกุลเงินยุโรป]]