ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูพิษ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
งูที่มีพิษ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น งูพิษ: เรียกสั้น ๆ
บรรทัด 6:
น้ำพิษของงูนั้นแตกต่างกันตั้งแต่เป็นสารประกอบโมเลกุลเล็กของ[[เปปไทด์]]ที่มี[[กรดอะมิโน]]ไม่กี่ชนิดไปจนถึง[[สารประกอบ]]ประเภท[[เอนไซม์]]ที่เป็นโมเลกุลเชิงซ้อน หรือเป็นสารประเภทโปรตีนที่ไม่ใช่เอนไซม์และมีน้ำหนักโมเลกุลมาก น้ำพิษของูจำแนกตามลักษณะโครงสร้างของเคมีและผลทางสรีรวิทยาที่เกิดขึ้น เช่น [[en:Hemolysin|Hemolysin]] และ[[en:Bleeding|Hemorrhagin]] ทำลายเนื้อเยื่อบุผนังของหลอดเลือดและเซลล์เม็ดเลือดแดง [[en:Myotoxin|Myotoxin]] ทำลายกล้ามเนื้อกระดูก [[en:Neurotoxin|Neurotoxin]] มีผลต่อจุดประสานของเซลล์ประสาทหรือตรงรอยต่อระหว่างกล้ามเนื้อกับแขนงประสาท เป็นต้น โดยทั่วไปแล้วน้ำพิษของงูใน[[วงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า]] (Elapidae) มีผลต่อประบบประสาทและน้ำพิษของงูใน[[วงศ์งูหางกระดิ่ง]] (Viperidae) มีผลต่อระบบไหลเวียนและเซลล์เม็ดเลือดแดง อย่างไรก็ตามน้ำพิษของงูทั้ง 2 วงศ์นี้อาจส่งผลต่อทั้ง 2 ระบบก็ได้<ref>วีรยุทธ์ เลาหะจินดา, ''วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก'' หน้า 399-400 ([[พ.ศ. 2552]]) ISBN 978-616-556-016-0 </ref>
 
[[ภาพ:Crotalus skull.jpg|thumb|250px|[[กะโหลก]]ของงูหางกระดิ่งใน[[genus|สกุล]] ''[[Crotalus]]'' แสดงให้เห็นถึงฟันเขี้ยวขนาดใหญ่]]
==วงศ์งูพิษ==
ในปัจจุบันงูเป็นสัตว์ที่มีการจำแนกออกเป็นวงศ์หรือตระกูลได้ 18 วงศ์ แต่ที่เป็นงูที่มีพิษนั้นมีทั้งหมด 4 วงศ์ แตกต่างกันออกไปตามลักษณะของฟันเขี้ยว คือ
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/งูพิษ"