ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไขกระดูก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Somjot (คุย | ส่วนร่วม)
Somjot (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 22:
 
==ชนิดของไขกระดูก==
[[Image:Caput femoris cortex medulla.jpg|thumb|หัวกระดูกต้นขาถูกผ่าเพื่อให้เห็น[[กระดูกเนื้อแน่น]] (cortical bone) และ[[กระดูกเนื้อโปร่ง]](trabecular bone)ซึ่งอยู่ส่วนใน และยังแสดงไขกระดูกแดงที่ล้อมรอบไขกระดูกเหลืองตรงกลาง]]
 
ไขกระดูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิดแบ่งตามสีและองค์ประกอบคือ ไขกระดูกแดง และไขกระดูกเหลือง ไขกระดูกทั้งสองบริเวณมีเส้นหลอดเลือดและเส้นเลือดฝอยอยู่เป็นจำนวนมาก เมื่อแรกเกิดไขกะดูกทั้งหมดเป็นชนิดไขกระดูกแดง แต่เมื่ออายุมากขึ้นก็จะยิ่งมีไขกระดูกเหลืองมากขึ้น
===ไขกระดูกแดง===
เส้น 27 ⟶ 29:
===ไขกระดูกเหลือง===
ไขกระดูกเหลือง ({{Lang-en|yellow marrow}}, [[Latin language|Latin]]: ''medulla ossium flava'') เป็นสีเหลืองเพราะมีไขมันอยู่มาก พบได้ในโพรงกระดูก (Medullary cavity) ในส่วนกลางของกระดูกยาว ในกรณีที่มีการสูญเสียเลือดอย่างมาก ร่างกายสามารถเปลี่ยนไขกระดูกเหลืองเป็นไขกระดูกแดงเพื่อเพิ่มการผลิตเม็ดเลือดแดงได้
 
==สตอมา==
สตอมาของไขกระดูกเป็นเนื้อเยื่อหรือโครงสร้างทั้งหมดที่ไม่มีหน้าที่โดยตรงเกี่ยวข้องการสร้างเม็ดเลือด (Haematopoiesis) ไขกระดูกเหลืองประกอบด้วยสตอมาเป็นส่วนใหญ่ แต่สตอมาก็พบได้บ้างในไขกระดูกแดง แม้ว่าไม่มีฤทธิ์เหมือนไขกระดูกแดงพาเรงไคมา แต่สตอมาก็เป็นรัง ([http://en.wikipedia.org/wiki/Stem_cell_niche|niche]) ที่มีความจำเพาะสำหรับเซลล์ที่กำเนิดเม็ดเลือดและเซลล์ต้นกำเนิดอื่น ๆ เช่น