ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูกรีนแมมบาตะวันออก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
/* การทดลองพิษของงูชนิดนี้ในหนู{{cite journal |pages=665–7 |title=A study on the cause of death produced by angusticeps-type toxin F7 isolated from eastern green mamba venom |year=1986 |las...
บรรทัด 25:
 
==การทดลองพิษของงูชนิดนี้ในหนู<ref>{{cite journal |pages=665–7 |title=A study on the cause of death produced by angusticeps-type toxin F7 isolated from eastern green mamba venom |year=1986 |last1=Lee |first1=CY. |last2=Chen |first2=YM |last3=Joubert |first3=FJ |journal=Toxicon |volume=24 |issue=1 |pmid=3952763}}</ref>==
ได้มีการศึกษาผลของพิษจากงูชนิดนี้ในหนูที่ถูกทำให้สลบ โดยมีการวัดค่า[[ความดันโลหิต|ความดันโลหิต]] อัตราการหายใจและ [[การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ|ECG (คลื่นไฟฟ้าหัวใจ)]] ก่อนทำการทดลอง หลังจากนั้นฉีดพิษในปริมาณ 1 mg[[มิลลิกรัม]] ต่อน้ำหนักหนู 1 kg[[กิโลกรัม]] พบว่าภายในไม่กี่นาทีอัตราการหายใจลดลงอย่างเห็นได้ชัด และ'''หยุดหายใจภายใน 15 นาที''' นอกจากนี้ยังพบว่าอัตราการเต้นและแรงบีบตัวของหัวใจลดลง และยังพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงสับไปมาของความดันโลหิตอีกด้วย ทั้งนี้การใช้เครื่องช่วยหายใจสามารถช่วยลดการเปลี่ยนแปลงของระบบหมุนเวียนโลหิตได้
 
การใช้ยา [http://en.wikipedia.org/wiki/Atropine Atropine] ในขนาดสูงสามารถป้องกันระบบทางเดินหายใจล้มเหลวได้ ซึ่งก็คือสามารถป้องกันการเสียชีวิตได้อย่างมีนัยสำคัญ <ref>{{cite journal |pages=33-40 |title=Protection by atropine against synergistic lethal effects of the Angusticeps-type toxin F7 from eastern green mamba venom and toxin I from black mamba venom |year=1982 |last1=Lee |first1=CY. |last2=Chen |first2=YM |last3=Joubert |first3=FJ |journal=Toxicon |volume=20 |issue=3 |pmid=6985564}}</ref>