ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปลูกถ่ายอวัยวะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Somjot (คุย | ส่วนร่วม)
→‎Timeline of successful transplants: แปลเพิ่มเติม
Somjot (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 47:
 
== ชนิดของการปลูกถ่าย ==
===การปลูกถ่ายด้วยออโทกราฟท์ (Autograft/autotranplantation)===
===Autograft===
การปลูกถ่ายด้วยออโทกราฟท์คือการปลูกถ่ายลงในตัวของเจ้าของเอง
{{main|Autotransplantation}}
 
===การปลูกถ่ายด้วยแอลโลกราฟท์ (Allograft and /allotransplantation===
การปลูกถ่ายด้วยแอลโลกราฟท์คือการเปลี่ยนถ่ายที่กระทำจากคนสู่คนหรือสิ่งมีชิวิตชนิดเดียวกัน
{{main|Allotransplantation}}
 
====ไอโซกราฟท์ (Isograft)====
ไอโซกราฟท์เป็นกลุ่มย่อยของการปลูกถ่ายด้วยแอลโลกราฟท์ซึ่งอวัยวะหรือเนื้อเยื่อถูกปลูกถ่ายจากผู้รับที่มียีนเดียวกัน (เช่น แฝดเหมือน) ไอโซกราฟท์แตกต่างจากการปลูกถ่ายแบบอื่นๆเพราะไม่เกิดการกระตุ้นการตอบสนองระบบภูมิคุ้มกัน
 
===การปลูกถ่ายด้วยซีโนกราฟท์ (Xenograft and xenotransplantation)===
การปลูกถ่ายด้วยซีโนกราฟท์คือการปลูกถ่ายด้วยอวัยวะหรือเนื้อเยื่อจากสัตว์ชนิดอื่น
{{Main|Xenotransplantation}}
 
===การปลูกถ่ายแยกส่วน (Split transplants)===
บางครั้งอวัยวะจากผู้บริจาคที่เสียชีวิต (โดยทั่วไปคือตับ) อาจจะถูกแบ่งให้ผู้รับสองคนโดยเฉพาะผู้ใหญ่และเด็ก แต่นี่ไม่ค่อยจะเป็นที่ต้องการเพราะการปลูกถ่ายอวัยวะทั้งชิ้นจะประสบความสำเร็จมากกว่า
 
===การปลูกถ่ายโดมิโน (Domino transplants)===
การผ่าตัดนี้กระทำกับผู้ป่วยที่เป็นโรคซิสติกไฟโบรซิส (Cystic fibrosis) เพราะต้องเปลี่ยนปอดทั้งคู่และจะง่ายขึ้นไปอีกถ้าเปลี่ยนทั้งปอดและหัวใจในเวลาเดียวกัน ถ้าผู้รับอวัยวะมีหัวใจที่สุขภาพดีก็สามารถนำไปปลูกถ่ายให้กับผู้ป่วยอื่นที่ต้องการการปลูกถ่ายหัวใจได้ นอกจากนั้นยังรวมหมายถึงการปลูกถ่ายตับแบบพิเศษที่ผู้มีอาการ familial amyloidotic polyneuropathy (โรคที่ตับผลิตโปรตีนชนิดหนึ่งได้ช้า โดยโปรตีนนี้ใช้เพื่อทำลายอวัยวะอื่น) ตับของผู้ป่วยนี้จึงสามารถนำไปปลูกถ่ายในคนไข้สูงอายุที่อาจตายได้ด้วยสาเหตุอื่นๆ
 
== อวัยวะและเนื้อเยื้อหลักที่สามารถปลูกถ่ายได้ ==