ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จิ้งเหลน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: zh:石龍子
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{issues|สั้นมาก=yes|ต้องการอ้างอิง=yes}}
{{Taxobox
| color = pink
เส้น 12 ⟶ 11:
| ordo = [[Squamata]]
| infraordo = [[Scincomorpha]]
| familia = '''[[Scincidae]]'''
| familia_authority = [[John Edward Gray|Gray]], [[ค.ศ. 1825|1825]]
| subdivision_ranks = [[Subfamiliesวงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์ย่อย]]
| subdivision =
*[[Acontinae]]<br />
*[[Feyliniinae]]
*[[Lygosominae]]<br />
[[Scincinae]] <small>(probably [[paraphyletic]])</small><br />
*[[Scincinae]]
For [[genera]], see [[#Genera|below]].
}}
 
'''จิ้งเหลน''' ({{lang-en|Skink}}, [[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: Scincidae) เป็น[[สัตว์เลื้อยคลาน]]ที่จัดอยู่ในอันดับ [[ไฟลัมSquamata]] เช่นเดียวกับ[[สัตว์มีแกนสันหลังงู]]และ[[กิ้งก่า]] ชั้นใช้ชื่อ[[สัตว์เลื้อยคลานวงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]ว่า Scincidae
 
มีรูปร่างโดยรวม คือ ลดรูปรยางค์ขาแตกต่างกันหลายระดับเพราะบางชนิดมีขาใหญ่ บางชนิดมีขาเล็กมาก และบางชนิดไม่มีขา มีรูปร่างแตกต่างกันตั้งแต่ลำตัวป้อมและขาใหญ่ไปจนถึงลำตัวเรียวยาวคล้ายงู เกล็ดปกคลุมลำตัวด้านหลังและด้านท้องรูปร่างกลมและเรียบเป็นมัน เกล็ดเรียงซ้อนเหลื่อมกันและมีกระดูกในชั้นหนังรองรับโดยมีลักษณะจำเพาะ คือ เกล็ดแต่ละแผ่นมีกระดูกในชั้นหนังหลายชิ้นซึ่งแตกต่างจากกิ้งก่าวงศ์อื่น ๆ ที่มีชั้นเดียว ลักษณะจำเพาะและแตกต่างจากกิ้งก่าวงศ์อื่นอีกประการ คือ หลายชนิดของวงศ์นี้มีเพดานปากแบบทุติยภูมิเจริญขึ้นมา กระดูกหัวไหล่มีกระดูกอินเตอร์ควาวิเคิลเป็นรูปโค้งหรือไม่มีกระดูกชิ้นนี้และกระดูกไหปลาร้าเป็นรูปหักมุม หางค่อนข้างยาว หลายชนิดปล่อยหางหลุดจากลำตัวได้เหมือนเช่น [[จิ้งจก]] เพื่อเอาตัวรอดจากศัตรู โดยตำแหน่งที่ปล่อยหางอยู่ทางด้านหน้าของก้านกระดูกทางด้านข้างของก้านกระดูกทางด้านข้างของกระดูกสันหลังส่วนหาง พื้นผิวด้านบนของลิ้นเป็นตุ่มยาว ฟันที่ขากรรไกรเกาะติดกับร่องที่ขอบด้านในของกระดูกขากรรไกร กระดูกพเทอรีกอยด์มีฟันหรือไม่มีฟัน
 
วงศ์จิ้งเหลนนี้ถือว่าเป็นวงศ์ที่ใหญ่มาก สามารถแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อย ๆ ได้อีก 4 วงศ์ (ดูในตาราง) แบ่งออกได้เป็น[[genus|สกุล]]ต่าง ๆ ได้ถึง 116 สกุล และเป็น[[species|ชนิด]]ต่าง ๆ ได้ราว 1,000 ชนิด ซึ่งจำนวนนี้ไม่แน่นอน เพราะการค้นพบใหม่ ๆ ขึ้นทุกปี
 
สำหรับสัตว์ในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ [[Mabuya multifasciata|จิ้งเหลนบ้าน]] (''Mabuya multifasciata'') ที่สารถพบได้ทั่วไปใน[[ประเทศไทย]] หรือ[[Takydromus sexlineatus|สางห่า]] (''Takydromus sexlineatus'') ที่ชาวอีสานมี[[ความเชื่อ]]ว่าเป็นสัตว์ที่มีพิษร้ายแรงมาก แต่ความจริงไม่ได้เป็นเช่นนั้น<ref>วีรยุทธ์ เลาหะจินดา, ''วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก'' หน้า 391 ([[พ.ศ. 2552]]) ISBN 978-616-556-016-0 </ref> <ref>[http://dict.longdo.com/search/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%B2 สางห่า ตาม[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]]</ref>
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
[[หมวดหมู่:สัตว์]]
[[หมวดหมู่:สัตว์มีแกนสันหลัง]]
[[หมวดหมู่:สัตว์เลื้อยคลาน]]
 
{{โครงสัตว์}}
 
[[az:Uzunayaqlar]]