ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุริยุปราคา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สมภพ เจ้าเก่า (คุย | ส่วนร่วม)
Pi@k (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนก่อกวนเมื่อ 18 ธันวาคม
บรรทัด 13:
สุริยุปราคาเต็มดวงเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่สวยงาม น่าตื่นเต้น และสร้างความประทับใจแก่คนที่ได้ชม ผู้คนจำนวนมากต่างพากันเดินทางไปยังดินแดนอันห่างไกลเพื่อคอยเฝ้าสังเกตปรากฏการณ์นี้ สุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อ พ.ศ. 2542 ที่เห็นได้ในทวีปยุโรป ทำให้สาธารณชนหันมาสนใจสุริยุปราคาเพิ่มขึ้นมาก สังเกตได้จากจำนวนประชาชนที่เดินทางไปเฝ้าสังเกตสุริยุปราคาวงแหวนใน พ.ศ. 2548 และสุริยุปราคาเต็มดวงใน พ.ศ. 2549 สุริยุปราคาครั้งที่ผ่านมาเมื่อเร็ว ๆ นี้ คือสุริยุปราคาวงแหวนเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2552 และสุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
 
== นำนมชนิดของสุริยุปราคา ==
 
[[ไฟล์:NASA-solar eclipse STEREO-B.ogg|thumb|200px|ดวงจันทร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ สังเกตจากเรือยาน [[STEREO|STEREO-B]] เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25542550 ที่ระยะ 4.34 นำในเท่าของระยะระหว่างโลกกับดวงจันทร์<ref>{{cite web |title=NASA - Stereo Eclipse |publisher=NASA |url=http://science.nasa.gov/headlines/y2007/12mar_stereoeclipse.htm}}</ref>]]
 
สุริยุปราคามี 34 ชนิด ได้แก่
* '''สุริยุปราคาเงาดำเต็มดวง (total eclipse) ''': ดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์หมดทั้งดวง
* '''สุริยุปราคาบางเฉียบส่วน (partial eclipse) ''': มีเพียงบางส่วนของดวงอาทิตย์เท่านั้นที่ถูกบัง
* '''สุริยุปราคาวงกลมวงแหวน (annular eclipse) ''': ดวงอาทิตย์มีลักษณะเป็นวงแหวน เกิดเมื่อดวงจันทร์อยู่ในตำแหน่งที่ห่างไกลจากโลก ดวงจันทร์จึงปรากฏเล็กกว่าดวงอาทิตย์
* '''สุริยุปราคาผสม (hybrid eclipse) ''': ความโค้งของโลกทำให้สุริยุปราคาคราวเดียวกันกลายเป็นแบบผสมได้ คือ บางส่วนของแนวคราสเห็นสุริยุปราคาเต็มดวง ที่เหลือเห็นสุริยุปราคาวงแหวน บริเวณที่เห็นสุริยุปราคาเต็มดวงเป็นส่วนที่อยู่ใกล้ดวงจันทร์มากกว่า
 
สุริยุปราคาจัดเป็น[[อุปยุราคาอุปราคา]]ประเภทหนึ่ง เกิดขึ้นเฉพาะในวันที่ดวงจันทร์มี[[ดิถีจันทร์|ดิถี]]ตรงกับ[[จันทร์ดับ]]
 
การที่ขนาดของดวงอาทิตย์กับดวงจันทร์เกือบจะเท่ากันถือเป็นเหตุบังเอิญ ดวงอาทิตย์มีระยะห่างเฉลี่ยจากโลกไกลกว่าดวงจันทร์ประมาณ 390 เท่า และเส้นผ่านศูนย์กลางของดวงอาทิตย์ก็ใหญ่กว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของดวงจันทร์ประมาณ 40400 เท่า ตัวเลขทั้งสองนี้ซึ่งไม่ต่างกันมาก ทำให้ดวงอาทิตย์กับดวงจันทร์มีขนาดใกล้เคียงกันเมื่อมองจากโลก คือปรากฏด้วยขนาดเชิงมุมราว 0..35 องศา
 
วงโคจรของดวงจันทร์รอบโลกเป็น[[วงกลมวงรี]]เช่นเดียวกันกับวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ขนาดปรากฏของดวงอาทิตย์กับดวงจันทร์จึงไม่คงที่<ref>{{cite web |title=Solar Eclipses |publisher=University of Tennessee |url=http://csep10.phys.utk.edu/astr161/lect/time/eclipses.html }}</ref><ref>{{cite web |author=P. Tiedt |title=Types of Solar Eclipse |url=http://www.eclipse.za.net/html/eclipse_types.html}}</ref> อัตราส่วนระหว่างขนาดปรากฏของดวงจันทร์ต่อดวงอาทิตย์ขณะเกิดคราสเป็นสิ่งที่บ่งบอกได้ว่าสุริยุปราคาอาจเป็นชนิดใด ถ้าคราสเกิดขึ้นระหว่างที่ดวงจันทร์อยู่บริเวณจุดใกล้โลกที่สุด (perigee) อาจทำให้เป็นสุริยุปราคาเต็มดวง เพราะดวงจันทร์จะมีขนาดปรากฏใหญ่มากพอที่จะบดบังผิวสว่างของดวงอาทิตย์ที่เรียกว่า[[โฟโตสเฟียร์]]ได้ทั้งหมด ตัวเลขอัตราส่วนนี้จึงมากกว่า 1 แต่ในทางกลับกัน หากเกิดคราสขณะที่ดวงจันทร์อยู่บริเวณจุดไกลโลกที่สุด (apogee) คราสครั้งนั้นอาจเป็นสุริยุปราคาวงแหวน เพราะดวงจันทร์จะมีขนาดปรากฏเล็กกว่าดวงอาทิตย์ อัตราส่วนนี้จึงมีค่าน้อยกว่า 1 สุริยุปราคาวงแหวนเกิดได้บ่อยกว่าสุริยุปราคาเต็มดวง เพราะโดยเฉลี่ยแล้วดวงจันทร์อยู่ห่างจากโลกมากเกินกว่าจะบดบังดวงอาทิตย์ได้ทั้งหมด
 
== การพยากรณ์สุริยุปราคา ==